เชื้อรา
ราวิทยาเบื้องต้น
ผลของเชื้อราต่อสิ่งมีชีวิต
โรคที่เกิดจากเชื้อรา
เชื้อราที่เกิดกับร่างกาย
การเรียกชื่อเชื้อรา
ลักษณะสำคัญ
ลักษณะของเชื้อรา
เนื้อเยื่อของเชื้อรา
โครงสร้างของเชื้อรา
การดำรงชีวิต
การดำรงชีวิตของเชื้อรา
การเจริญของเส้นใย
สัณฐานวิทยา
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
การจัดกลุ่ม
การจัดหมวดหมู่เชื้อรา
Ascomycota
Basidiomycota
Deuteromycota
Zygomycota
การวินิจฉัย
การตรวจวินิจฉัย
ความปลอดภัยในการตรวจวินิจฉัย
การตรวจวินิจฉัยในห้องปฏิบัติการ
การเก็บวัตถุตัวอย่าง
การดำเนินการตรวจ
การรักษาและทำลาย
การทำลายและฆ่าเชื้อรา
รูปภาพ
เชื้อราทั่วไป
ภาพขยายจากกล้องจุลทรรศน์
ภาพเชื้อราที่เกิดกับร่างกาย
ศึกษาดูงานที่โรงพยาบาลลำพูน
ภาคผนวก
ชนิดอาหารเลี้ยงเชื้อ
เชื้อราที่พบในสิ่งส่งตรวจต่างๆ
เชื้อรากับบิ๊ก
D2B
|
|
ราในดิวิชันนี้มีจำนวนชนิดมากที่สุด
ตัวอย่างคือ
- saccharomyces
cerevisiae หรือ ยีสต์หมักเบียร์
(Brewer's
yeast)
- ราสีแดง(Monascus
sp.) ที่ใช้ผลิตข้าวแดงและเต้าหู้ยี้
- ราน้ำค้าง
และมีบางชนิดสร้างดอกเห็ดซึ่งใช้เป็นอาหารได้ |
|
|
ลักษณะสำคัญ
ไฮฟามีเยื่อกั้น
แต่เยื่อกั้นมีรูทะลุ(perforated septum)
ทำให้ไซโทพลาซึมและนิวเคลียสไหลถึงกันได้(ยกเว้นยีสต์ซึ่งเป็น
เซลล์เดียว
การสืบพันธุ์ สร้างสปอร์ 2 ชนิด
|
|
1.
สปอร์จากเซลล์สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ คือแอสโคสปอร์
(ascospores) ลักษณะผนังหนา(เป็นเซลล์อิสระ
ที่แต่ละสปอร์มีผนังและไซโทพลาซึมหุ้มนิวเคลียส)
ถูกสร้างภายในถุง(sac) เรียกว่า แอสคัส(ascus)
ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของราในดิวิชันนี้ ดังนั้นเรียกว่า
แซคฟังไจ(sac fungi)
2. สปอร์จากการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
อาจเป็นสปอร์เดี่ยว หรือต่อกันเป็นลูกโซ่ตรง
ปลายเส้นใยที่เรียกว่า
โคนิเดียม |
|
|
|