Fungus หมายถึง เชื้อราและกลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่ไม่มีคลอโรฟิลล์ มีสปอร์  สืบพันธุ์ได้ทั้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ มีทั้งชนิดเซลล์เดียว  และหลายเซลล์ นำมาใช้ประโยชน์ในหลายๆ ด้าน แต่ก็ก่อให้เกิดโรคหลายชนิดขึ้นกับมนุษย์
| หน้าหลัก | ราวิทยาเบื้องต้น | ลักษณะสำคัญ | การดำรงชีวิต | การจัดกลุ่ม | การวินิจฉัย | การรักษาและทำลาย | ชนิดอาหารเลี้ยงเชื้อ | เชื้อราในสิ่งส่งตรวจ | เชื้อรากับบิ๊กD2B |


เชื้อรา
ราวิทยาเบื้องต้น
ผลของเชื้อราต่อสิ่งมีชีวิต
โรคที่เกิดจากเชื้อรา
เชื้อราที่เกิดกับร่างกาย
การเรียกชื่อเชื้อรา

ลักษณะสำคัญ
ลักษณะของเชื้อรา
เนื้อเยื่อของเชื้อรา
โครงสร้างของเชื้อรา

การดำรงชีวิต
การดำรงชีวิตของเชื้อรา
การเจริญของเส้นใย
สัณฐานวิทยา
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ

การจัดกลุ่ม
การจัดหมวดหมู่เชื้อรา
Ascomycota
Basidiomycota
Deuteromycota
Zygomycota

การวินิจฉัย
การตรวจวินิจฉัย
ความปลอดภัยในการตรวจวินิจฉัย
การตรวจวินิจฉัยในห้องปฏิบัติการ
การเก็บวัตถุตัวอย่าง
การดำเนินการตรวจ

การรักษาและทำลาย
การทำลายและฆ่าเชื้อรา

รูปภาพ
เชื้อราทั่วไป
ภาพขยายจากกล้องจุลทรรศน์
ภาพเชื้อราที่เกิดกับร่างกาย
ศึกษาดูงานที่โรงพยาบาลลำพูน

ภาคผนวก
ชนิดอาหารเลี้ยงเชื้อ
เชื้อราที่พบในสิ่งส่งตรวจต่างๆ

เชื้อรากับบิ๊ก D2B


 

             เชื้อราไม่มีคลอโรฟิลจึงต้องอาศัยสิ่งมีชีวิตอื่น หรือซากสิ่งมีชีวิต ในการดำรงชีพ
      จึงจัดแบ่งการดำรงชีวิตได้หลายแบบ เช่น
      - พวกที่อาศัยซากสิ่งมีชีวิตเรียกว่า saprobe
      - พวกที่อาศัยสิ่งมีชีวิตอื่นเรียกว่าเป็น ปาราสิต (parasite)
      - พวกที่อาศัยได้ทั้งในสิ่งมีชีวิตและซากสิ่งมีชีวิตเรียกว่า facultative parasite
      - พวกที่เจริญได้เฉพาะบนซากพืชซากสัตว์เรียกว่า obligate saprobe
      - พวกที่ดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยการเป็นปาราสิตของพืชและสัตว์ เรียกว่า pbligate parasite


  เชื้อราไม่มีคลอโรฟิล
  เชื้อราไม่มีคลอโรฟิล


        เชื้อราต่างจากพืชชั้นสูงทั่วไป ตรงที่ต้องการอาหารที่นำ
ไปใช้ได้ทันที เพราะสังเคราะห์อาหารเองไม่ได้ราส่วนใหญ่
สร้างโปรตีนจากสารอินทรีย์ และสารอนินทรีย์ของไนโตรเจน
ใช้กลูโคสเป็นแหล่งของคาร์บอนที่ดีที่สุด ส่วนแหล่งของ
ไนโตรเจนที่ดีที่สุดได้แก่สารประกอบอินทรีย์ของไนโตรเจน
แอมโมเนียไนเตรด และสร้างวิตามินสำหรับใช้ในการเจริญ
และสืบพันธุ์ด้วย อาหารสะสมจะเก็บไว้ในรูปของ
glycogen และ oil
         ราแต่ละชนิดต้องการอาหารไม่เหมือนกัน ราเขียว (Penicillium)
     และราดำ (Aspergillus) ใช้อาหารได้หลายชนิด
     แต่ราบางชนิดต้องการอาหารที่จำเพาะมาก เช่น พวก
    obligate parastite นอกจากต้องการสารอาหารจาก
     เซลล์ที่มีชีวิตแล้ว ยังเลือกสปีซี่ของ host ที่มันอาศัยด้วย
  เชื้อราไม่มีคลอโรฟิล
ลักษณะของเชื้อรา            เชื้อราส่วนใหญ่มีชีวิตได้ตั้งแต่ 0 องศา จนถึง 35? C
     แต่อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเจริญ (optimum temperature) คือ 20 -30? C
          - อุณหภูมิ 50? C เชื้อราจะเจริญน้อยลง
          - อุณหภูมิ 60? C ราทุกชนิดถูกฆ่าตายหมด
            (ใช้วิธีนี้ในการหยุดการ fermentation ของเชื้อรา)
          - อุณหภูมิ 100 ? C สปอร์ต่าง ๆ และสเคอโรเดียมถูกฆ่าตายหมด