เชื้อรา
ราวิทยาเบื้องต้น
ผลของเชื้อราต่อสิ่งมีชีวิต
โรคที่เกิดจากเชื้อรา
เชื้อราที่เกิดกับร่างกาย
การเรียกชื่อเชื้อรา
ลักษณะสำคัญ
ลักษณะของเชื้อรา
เนื้อเยื่อของเชื้อรา
โครงสร้างของเชื้อรา
การดำรงชีวิต
การดำรงชีวิตของเชื้อรา
การเจริญของเส้นใย
สัณฐานวิทยา
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
การจัดกลุ่ม
การจัดหมวดหมู่เชื้อรา
Ascomycota
Basidiomycota
Deuteromycota
Zygomycota
การวินิจฉัย
การตรวจวินิจฉัย
ความปลอดภัยในการตรวจวินิจฉัย
การตรวจวินิจฉัยในห้องปฏิบัติการ
การเก็บวัตถุตัวอย่าง
การดำเนินการตรวจ
การรักษาและทำลาย
การทำลายและฆ่าเชื้อรา
รูปภาพ
เชื้อราทั่วไป
ภาพขยายจากกล้องจุลทรรศน์
ภาพเชื้อราที่เกิดกับร่างกาย
ศึกษาดูงานที่โรงพยาบาลลำพูน
ภาคผนวก
ชนิดอาหารเลี้ยงเชื้อ
เชื้อราที่พบในสิ่งส่งตรวจต่างๆ
เชื้อรากับบิ๊ก
D2B
|
|
|
เชื้อราทั่วไปจะมีลักษณะที่
เส้นใยอาจจะเรียงตัวอัดกันเป็นเนื้อเยื่อขึ้นได้ เรียกว่า plectenchyma
โดยการที่เส้นใยมาเกาะชิดกันและสอดประสานพันกันไปมา plectenchyma
แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ |
|
1.
โปรเซนไคมา (prosenchyma)
เป็นเนื้อเยื่อที่ประกอบด้วยเส้นใยอัดตัวกันอย่างหลวม ๆ
ตามยาว ยังมองเห็นเป็นส้นใยแต่ละเส้นอยู่
2.
ซูโดพาเรนไคมา (pseudoparechyma)
เป็นเนื้อเยื่อที่ประกอบด้วยเส้นใยอัดตัวกันอย่างหนาแน่น
แยกออกแต่ละเส้นไม่ได้
เมื่อตัดตามขวางจะมีลักษณะคล้ายเนื้อเยื่อพาเรนไคมา
(parechyma) ในพืชชั้นสูง
|
|
|
|
โปรเซนไคมา
และซูโดพาเรนไคมา
มีอยู่ในระบบโครงสร้างและระบบสืบพันธุ์ของเชื้อราหลายชนิด
ที่รู้จักกันดีคือ เป็นโครงสร้างที่เรียกว่าสโตรมา
(stroma)
และสเคอโรเดียม (sclerotium)
- สโตรมา
เป็นส่วนหนึ่งของเส้นใยที่อัดแน่น
มีลักษณะคล้ายเป็นเบาะสำหรับรองรับส่วนของเนื้อเยื่อ
ที่จะสร้างสปอร์
- สเคอโรเดียม เป็นโครงสร้างที่ทนทานต่อสภาพแวดล้อม
ที่ไม่เหมาะสมได้ดี มีลักษณะแข็งใช้สำหรับอยู่ข้ามฤดู
เมื่อถึงฤดูที่เหมาะสมต่อการเจริญ มีสเคอโรเยมจะงอกเป็น
เส้นใยขึ้นมาใหม่
|
|
|