เชื้อรา
ราวิทยาเบื้องต้น
ผลของเชื้อราต่อสิ่งมีชีวิต
โรคที่เกิดจากเชื้อรา
เชื้อราที่เกิดกับร่างกาย
การเรียกชื่อเชื้อรา
ลักษณะสำคัญ
ลักษณะของเชื้อรา
เนื้อเยื่อของเชื้อรา
โครงสร้างของเชื้อรา
การดำรงชีวิต
การดำรงชีวิตของเชื้อรา
การเจริญของเส้นใย
สัณฐานวิทยา
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
การจัดกลุ่ม
การจัดหมวดหมู่เชื้อรา
Ascomycota
Basidiomycota
Deuteromycota
Zygomycota
การวินิจฉัย
การตรวจวินิจฉัย
ความปลอดภัยในการตรวจวินิจฉัย
การตรวจวินิจฉัยในห้องปฏิบัติการ
การเก็บวัตถุตัวอย่าง
การดำเนินการตรวจ
การรักษาและทำลาย
การทำลายและฆ่าเชื้อรา
รูปภาพ
เชื้อราทั่วไป
ภาพขยายจากกล้องจุลทรรศน์
ภาพเชื้อราที่เกิดกับร่างกาย
ศึกษาดูงานที่โรงพยาบาลลำพูน
ภาคผนวก
ชนิดอาหารเลี้ยงเชื้อ
เชื้อราที่พบในสิ่งส่งตรวจต่างๆ
เชื้อรากับบิ๊ก
D2B
|
|
|
การเจริญของเส้นใยของเชื้อราเจริญมาจากส่วนปลาย
(hyphal tip) ซึ่งเป็นส่วนที่ active ที่สุดของเส้นใย
บริเวณที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโต เรียก apical
growth region
มีขอบเขตประมาณ 100 ไมครอน จากส่วนปลายเข้าไป
ในบริเวณนี้
ไม่มีแวคคูโอล ไซโตปลาสซึมส่วนใหญ่เป็น
RNA และโปรตีนที่ประกอบด้วยกรดอมิโน พวกอาร์จีนินไทโรซีน
และฮิสติตัน ไม่พบอาหารสะสมพวกไกลโคเจน หรือพบเล็กน้อยเท่านั้น
|
|
ในปี
ค.ศ. 1968 Mc. Clure และคณะ ได้ศึกษา somatic
hypha ของเชื้อราที่มีผนังกั้นโดยศึกษาทาง
cytology
และสรุปได้ว่า apical growth region
มีไมโตคอนเดรีย
อยู่เป็นจำนวนมากตรงบริเวณ 3.0 - 7.5
ไมครอน
จากส่วนปลายเข้าไป และบริเวณนี้ไม่พบนิวเคลียส แต่จะพบ
ต่ำลงมาประมาณ 400 ไมครอน |
|
|
|
นอกจากนี้ยังพบ
vesicle ด้วยให้ชื่อว่า spitzenkorper
จากการศึกษาต่อมาพบว่า vesicle เกี่ยวข้องกับการสร้าง
เซลเมมเบรนและผนังเซลล์ของเชื้อรา
vesicle จะไปรวมตัวกับ
เซลเมมเบรน บริเวณปลายของมัยซีเลียมสำหรับต้นกำเนิดของ
vesicle ยังไม่ทราบชัด แต่สันนิษฐานว่ามีกำเนิดโดยการ
budding มาจาก golgi apparatus ในเซลล์ |
|
|