ผลการค้นหา

Tag: กลุ่มวิจัยอุปกรณ์สเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์ (SSDRG)

ทีมวิจัยเทคโนโลยีเทระเฮิรตซ์ (TRT)

ภาพรวมเทคโนโลยีเทระเฮิรตซ์ คลื่นเทระเฮิรตซ์ (Terahertz Waves) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่อยู่ระหว่างคลื่นไมโครเวฟ (Microwave) และอินฟราเรด (Infrared) มีความยาวคลื่นตั้งแต่ 30 ไมโครเมตรถึง 3 มิลลิเมตร คลื่นเทระเฮิรตซ์กำลังได้รับความสนใจมากขึ้นในวงการวิจัยเนื่องจากคุณสมบัติที่โดดเด่นหลายประการ กล่าวคือ คลื่นเทระเฮิรตซ์สามารถทะลุผ่านวัสดุที่ไม่ใช่โลหะได้หลายชนิด เช่น กระดาษ ผ้า ไม้ และพลาสติก คลื่นเทระเฮิรตซ์ไม่ทำให้โมเลกุลในร่างกายสิ่งมีชีวิตแตกตัวเป็นไอออน (Ionization) จึงปลอดภัยต่อสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้คลื่นเทระเฮิรตซ์สามารถตรวจจับสารชีวโมเลกุลที่สำคัญได้ เช่น กรดอะมิโน ยาปฏิชีวนะ และสารตั้งต้นของวัตถุระเบิด ด้วยคุณสมบัติเหล่านี้ เทคโนโลยีเทระเฮิรตซ์จึงมีศักยภาพในการนำไปประยุกต์ใช้งานในหลายด้าน เช่น การทดสอบแบบไม่ทำลาย (Non-Destructive Testing; NDT) และการควบคุมคุณภาพ (Quality Control; QC) ในงานด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การรักษาความปลอดภัย (Security) การสื่อสาร (Communication) และการแพทย์ (Medicine) เพื่อเป็นการสนับสนุนการวิจัยด้านเทคโนโลยีเทระเฮิรตซ์ในประเทศไทย ทีมวิจัยเทคโนโลยีเทระเฮิรตซ์ (Terahertz Research Team; TRT) จึงก่อตั้งขึ้นโดยมุ่งเน้นการพัฒนาองค์ความรู้ขั้นแนวหน้า และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดังกล่าวในภาคการเกษตรและอุตสาหกรรม

ทีมเนคเทค สวทช. ได้รับรางวัล PMUC COUNTRY 1st AWARD จาก บพข. ภายในงาน “อว.แฟร์ Sci Power Thailand”

โครงการวิจัยและพัฒนาแพลตฟอร์มเทคโนโลยีเทระเฮิรตซ์เพื่อยกระดับอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และการตรวจวัดขั้นสูงของประเทศไทย

เนคเทค สวทช. ต้อนรับอาจารย์และนักศึกษา KMITL เข้าศึกษาดูงานด้านอุปกรณ์สเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์

อาจารย์และนักศึกษา KMITL เยี่ยมชมศึกษาดูงานทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมเปิดโลกทัศน์ด้านเทคโนโลยีสเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์

เนคเทค สวทช.ต้อนรับคณะเยี่ยมชมจากหลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต ม.เกษตรศาสตร์

เยี่ยมชมผลงานของทีมวิจัยเทคโนโลยีเชิงแสงไฟฟ้าเคมี และทีมวิจัยเทคโนโลยีเทระเฮิรตซ์ กลุ่มวิจัยอุปกรณ์สเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์

เทคโนโลยีฐานภาพความร้อน (Thermal Imaging)

เทคโนโลยีฐาน Thermal Imaging มุ่งเน้นการวิจัยพื้นฐานและการพัฒนาเทคโนโลยีการสร้างภาพสองมิติ (2-D Imaging) และภาพสามมิติ (3-D Imaging) จากเซนเซอร์หลากหลายชนิดของภาพถ่ายความร้อนร่วมกับภาพถ่ายหลายความยาวคลื่น

กลุ่มวิจัยอุปกรณ์สเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์

วิจัย พัฒนา และวิศวกรรมด้านสเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์ เพื่อสร้างสรรค์ผลงานวิจัยในรูปของอุปกรณ์ตรวจวัดและเครื่องมือที่สามารถประยุกต์ใช้งานในหลายๆ ด้าน อาทิ อาหารและเกษตร การแพทย์และสาธารณสุข พลังงานและสิ่งแวดล้อม ด้านความมั่นคง อุตสาหกรรมการผลิตและบริการ

ทีมวิจัยเทคโนโลยีเซนเซอร์แสงไฟฟ้าเคมี (OEC)

วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีด้านเซนเซอร์เชิงแสงไฟฟ้าเคมี และผลักดันให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีดังกล่าวให้เกิดประโยชน์เชิงอุตสาหกรรม เศรษฐกิจ และสังคมในประเทศ

ทีมวิจัยเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ (SLT)

ทีมวิจัยเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ หน่วยวิจัยอุปกรณ์สเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์ เน้นงานวิจัยและพัฒนาทางด้าน Photovoltaic Technology, High-Efficiency Crystalline Solar Cells (Silicon, Hybrid tandem), Thin films and emerging materials and devices including Perovskite Solar Cells, Thin film processing technique (PECVD, MOCVD), PV measurements and characterization, PV reliability testing and analysis, PV/ Hybrid System design and integration, PV modeling and simulation สารบัญ วิสัยทัศน์ สร้างองค์ความรู้ทางเทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์ให้ทัดเทียมระดับสากล และก่อให้เกิดผลกระทบในด้านวิชาการ เศรษฐกิจและสังคม พันธกิจ วิจัย