เทคโนโลยีฐาน วิศวกรรมควอนตัม (Quantum Engineering Platform) มุ่งเน้นการวิจัยเทคโนโลยีควอนตัมเชิงวิศวรรม เพื่อเพาะบ่มฐานเทคโนโลยีใหม่ให้กับประเทศ
หัวข้องานวิจัยหลัก
- ระบบสุ่มตัวเลขเชิงควอนตัม (เริ่มต้นในปี พ.ศ. 2562)
- การจำลองเชิงควอนตัมบนวัสดุใหม่ (เริ่มต้นในปี พ.ศ. 2562)
- ควอนตัมพลาสโมนิกส์ (เริ่มต้นในปี พ.ศ. 2565)
สรุปผลงาน (ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562)
ผลงานที่เผยแพร่สู่สาธารณะ
[1] เว็บไซต์ให้บริการเลขสุ่มเชิงควอนตัม (www.randomQ.org)
[2] เว็บไซต์ให้บริการสุ่มจับรางวัลด้วยเลขสุ่มเชิงควอนตัม (www.luckyPLAY.org)
[3] หนังสือเยาวชน เรื่อง “เทคโนโลยีควอนตัม” (www.mhesi.go.th/images/STBookSeries/BS010QuantumTechnology.pdf)
ทรัพย์สินทางปัญญา (IP)
[1] สิทธิบัตรการประดิษฐ์ 8 รายการ: เลขที่คำขอ 1901005869, 2001005475, 2001005476, 2001005477, 2101001414, 2101005681, 2101005683, 2101005899
[2] อนุสิทธิบัตรการประดิษฐ์ 1 รายการ: เลขที่คำขอ 2103002785
บทความวิชาการ
[1] K. Aungskunsiri, S. Jantarachote, K. Wongpanya, R. Amarit, P. Punpetch, and S. Sumriddetchkajorn, “Quantum Random Number Generation Based on Multi-photon Detection”, ACS Omega 8 (38), 35085–35092 (2023).
[2] K. Aungskunsiri, R. Amarit, S. Jantarachote, K. Wongpanya, P. Punpetch, and S. Sumriddetchkajorn, “Multiplexing quantum tunneling diodes for random number generation”, Rev. Sci. Instrum. 94, 014704 (2023).; arXiv:2212.12177
[3] K. Aungskunsiri, R. Amarit, K. Wongpanya, S. Jantarachote, W. Yamwong, S. Saiburee, S. Chanhorm, A. Intarapanich, and S. Sumriddetchkajorn, “Random number generation from a quantum tunneling diode”, Appl. Phys. Lett. 119, 074002 (2021).; arXiv:2002.02032
เข้าชมข้อมูลในภาษาอังกฤษ ได้ที่ Quantum Engineering Platform