ผลการค้นหา

Tag: SSDRG

NECTEC Talk ครั้งแรกของปี 2024 ประเดิมด้วย 3 เรื่องราวของงานวิจัยภายใต้โครงการเซนเซอร์เชิงแสงสำหรับการตรวจวัดไวรัส

อัปเดตงานวิจัยด้านเทคโนโลยีเซนเซอร์เชิงแสง ซึ่งมีความร่วมมือกับผู้เชี่ยวชาญจากสาธารณรัฐตุรกี ภายใต้โครงการเซนเซอร์เชิงแสงสำหรับการตรวจวัดไวรัส

ทีมเนคเทค สวทช. ร่วมแชร์ประสบการณ์วิจัยในเวทีประชุมวิชาการระดับชาติ ECTI-CARD 2023

การประชุมวิชาการระดับชาติ งานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 15 (ECTI-CARD 2023) ภายใต้หัวข้อ “นวัตกรรมและเทคโนโลยีสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาชุมชนอัจฉริยะ”

เนคเทค สวทช. ต้อนรับอาจารย์และนักศึกษา KMITL เข้าศึกษาดูงานด้านอุปกรณ์สเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์

อาจารย์และนักศึกษา KMITL เยี่ยมชมศึกษาดูงานทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมเปิดโลกทัศน์ด้านเทคโนโลยีสเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์

เทคโนโลยีฐานภาพความร้อน (Thermal Imaging)

เทคโนโลยีฐาน Thermal Imaging มุ่งเน้นการวิจัยพื้นฐานและการพัฒนาเทคโนโลยีการสร้างภาพสองมิติ (2-D Imaging) และภาพสามมิติ (3-D Imaging) จากเซนเซอร์หลากหลายชนิดของภาพถ่ายความร้อนร่วมกับภาพถ่ายหลายความยาวคลื่น

กลุ่มวิจัยอุปกรณ์สเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์

วิจัย พัฒนา และวิศวกรรมด้านสเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์ เพื่อสร้างสรรค์ผลงานวิจัยในรูปของอุปกรณ์ตรวจวัดและเครื่องมือที่สามารถประยุกต์ใช้งานในหลายๆ ด้าน อาทิ อาหารและเกษตร การแพทย์และสาธารณสุข พลังงานและสิ่งแวดล้อม ด้านความมั่นคง อุตสาหกรรมการผลิตและบริการ

ทีมวิจัยเทคโนโลยีเทระเฮิรตซ์ (TRT)

ปัจจุบันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในย่านความถี่เทระเฮิรตซ์ได้รับความสนใจจากนักวิจัยในต่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากคุณลักษณะเฉพาะตัวของความถี่ในย่านนี้ที่ Non-Ionizing และสามารถทะลุผ่านสิ่งของที่เป็น Dielectric materials รวมถึงมีความไวในการตรวจจับสารเคมีและสารตั้งต้นวัตถุระเบิด ทำให้ได้มีการวิจัยและพัฒนานำความถี่ในย่านนี้มาประยุกต์ใช้งานอย่างแพร่หลายในด้าน เช่น การประยุกต์ใช้งานทางอุตสาหกรรม, การตรวจสอบแบบไม่ทำลาย (Non-Destructive Testing: NDT), ด้านการแพทย์, Security scanning, รวมถึงเทคโนโลยีด้านการสื่อสาร ดังนั้นเพื่อให้สามารถรองรับทั้งภาระกิจและสร้างบุคลากรที่จะทำงานวิจัยในสาขานี้ จึงต้องมีการจัดตั้งทีมวิจัยเทคโนโลยีเทระเฮิรตซ์ เพื่อตอบโจทย์งานวิจัยและพัฒนาอุสาหกรรมในประเทศรวมถึงเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทางเทคโนโลยีกับนานาประเทศ นอกเหนือจากงานวิจัยในย่านคลื่นเทระเฮิรตซ์แล้วทางทีมวิจัยยังมีความสนใจในการนำเทคโนโลยีไลดาร์มาประยุกต์ใช้งานกับกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ย่านความถี่เทระเฮิรตซ์ เมื่อเปรียบเทียบกับย่านความถี่อื่นๆ สารบัญ วิสัยทัศน์ เป็นทีมวิจัยเทคโนโลยีเทระเฮิรตซ์ที่ส่งเสริมงานวิจัยและพัฒนาที่มีประสิทธิภาพและความเป็นเลิศทางเทคโนโลยี สามารถนำไปสร้างผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม และความปลอดภัย ในประเทศและภูมิภาค เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศต่อไป พันธกิจ วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเทระเฮิรตซ์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน สร้างองค์ความรู้ใหม่ทางด้านเทคโนโลยีเทระเฮิรตซ์เพื่อนำไปประยุกต์ใช้งานได้จริงที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ ส่งเสริมและร่วมมือการพัฒนาเทคโนโลยีเทระเฮิรตซ์กับภาครัฐและเอกชนภายในประเทศ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของอุตสาหกรรมไทย เทคโนโลยีหลัก THz sources Smith-Purcell Radiation IMPATT Diode Intense laser-based THz source Photoconductive THz emitter III-V THz

ทีมวิจัยเทคโนโลยีเซนเซอร์แสงไฟฟ้าเคมี (OEC)

วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีด้านเซนเซอร์เชิงแสงไฟฟ้าเคมี และผลักดันให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีดังกล่าวให้เกิดประโยชน์เชิงอุตสาหกรรม เศรษฐกิจ และสังคมในประเทศ

ทีมวิจัยเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ (SLT)

ทีมวิจัยเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ หน่วยวิจัยอุปกรณ์สเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์ เน้นงานวิจัยและพัฒนาทางด้าน Photovoltaic Technology, High-Efficiency Crystalline Solar Cells (Silicon, Hybrid tandem), Thin films and emerging materials and devices including Perovskite Solar Cells, Thin film processing technique (PECVD, MOCVD), PV measurements and characterization, PV reliability testing and analysis, PV/ Hybrid System design and integration, PV modeling and simulation สารบัญ วิสัยทัศน์ สร้างองค์ความรู้ทางเทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์ให้ทัดเทียมระดับสากล และก่อให้เกิดผลกระทบในด้านวิชาการ เศรษฐกิจและสังคม พันธกิจ วิจัย