ครูนักวิจัย

E-mail 2 3 4 5 6 7 8 MessageBoards 2 Groups 2 3 4 5 6 7 8 HomePage


                    การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่สอนแบบอินเตอร์เน็ตภาษาไทย ท ๑๐๑ กับการสอนแบบบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย  ท  101 โดยจะชี้ให้เห็นถึงลักษณะที่แตกต่างไปจากการสอนปกติอื่น ๆ กับทั้งจะศึกษาตรงตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช ๒๕๒๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๓๓) การสอนภาษาไทยชุดทักษสัมพันธ์ ของกระทรวงศึกษาธิการ เป็นวิธีสอนแบบเรียนด้วยตนเองส่วนหนึ่งและเรียนกับครูผู้สอนส่วนหนึ่ง กิจกรรมแต่ละบทเรียนมีเนื้อหาครอบคลุมความรู้เกี่ยวกับภาษาและวรรณคดี นอกจากความรู้ ความจำ ความเข้าใจ เนื้อเรื่องแล้ว ยังมุ่งให้นักเรียนใช้ความคิดและวิจารณญาณตลอดจนใช้ทักษะต่าง ๆ สัมพันธ์กัน กิจกรรมวัดผลจำแนกตามจุดประสงค์การเรียนรู้และทักษะต่าง ๆ ตามแนวการประเมินผลที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน แต่ละบทเรียนได้เฉลยและวางแนวพร้อมทั้งมีข้อเสนอแนะในแต่ละเรื่องไว้ เพื่อสะดวกแก่การศึกษาค้นคว้าของนักเรียน
                    ผลการวิจัยปรากฏว่า นักเรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง ตัดสินใจเรียนอะไรที่เขาต้องการเอง ผู้เรียนสามารถสร้างจุดประสงค์ในการเรียนรู้ สามารถหาแหล่งวิชาทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง ครูเป็นเพียงผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ และให้ความช่วยเหลือเท่านั้น ผู้เรียนมีความสามารถใกล้เคียงกันและได้คะแนนสูงอีกด้วย เพื่อเน้นให้เห็นถึงลักษณะเฉพาะของการสอนอย่างชัดเจน

ABSTRACT

                    The purposes of thais research were to compare with achievement students in Thais subject (Thai 101)...We will compare between lesson and regular lesson. The result of the research will show about internet lesson and study secondary curriculum by directly. In 1978 (reform in 1990). The way of teaching in skill relate this of the Education Department will be study by ourselves and teachers. Each activity will contail with language and literature. Another purpose we embrace the students use "thinking" and "consider" until many skills by relate. The activity of evaluate will separate by objective learning and other skills. It has a key and suggestion detail in each lesson. It's comfortable to find by students. The result of the research show that students can study and decide by themselves. The students can make the objective learning and can find other activities. They can free by themselves. The teachers can give comfortable and help them when they have some problems. The students have ability and get a good score.

ครูนักวิจัย
Baby  Research

   

 

รายงานการวิจัย เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โดย นายรังสรรค์ กลิ่นแก้ว รหัส ๔๗๑๒๕๔๐๐๖๒ รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนวิชา วิจัยการศึกษา (MR 793) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๔๗

บทคัดย่อ

               การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาภาษไทย ท ๓๑๑๐๒ ที่สอนแบบบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๓๑๑๐๒ กับการสอนปกติ โดยจะชี้ให้เห็นถึงลักษณะที่แตกต่างไปจากการสอนปกติอื่น ๆ กับทั้งจะศึกษาตรงตมหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช ๒๕๒๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๓๓) การสอนภาษาไทย ของกระทรวงศึกษาธิการ เป็นวิธีสอนแบบเรียนด้วยตนเองส่วนหนึ่ง และการเรียนกับครูผู้สอนส่วนหนึ่ง กิจกรรมแต่ละบทเรียนมีเนื้อหาครอบคลุมความรู้เกี่ยวกับภาษาและวรรณคดี นอกจากความ รู้ ความจำ ความเข้าใจ เอเรื่องแล้ว ยังมุ่งให้นักเรียนใช้ความคิดและวิจารณญาณ ตลอดจนใช้ทักษะต่างๆ สัมพันธ์กัน กิจกรรมวัดผลจำแนกตามจุดประสงค์การเรียนรู้ และทักษะต่าง ๆ ตามแนวการประเมินผลที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน แต่ละบทเรียนได้เฉลยและวางแนวพร้อมทั้งมีข้อเสนอแนะในแต่ละเรื่องไว้ เพื่อสะดวกแก่การศึกษาค้นคว้าของนักเรียน

               ผลการวิจัยปราฏว่า นักเรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง ตัดสินใจเรียนอะไรที่เขาต้องการเอง ผู้เรียนสามารถสร้างจุดประสงค์ในการเรียนรู้ สามารถหาแหล่งวิชาทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง ผู้เรียนมีอิสระเต็มที่ เป็นตัวของตนเอง ครูเป็นเพียงผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ และให้ความช่วยเหลือเท่านั้น ผู้เรียนมีความสามารถใกล้เคียงกันและยังได้คะแนนสูงอีกด้วย เพื่อเน้นให้เห็นถึงลักษณะเฉพาะของการสอนอย่างชัดเจน

Abstract

               The purposes of this research were to compare with achievement students in thais subject (thais 101)… We will compare between instant lesson and study. Secondary curriculum by directly in 1978 (reform in 1990). The way of teaching in skill. Relate thais of Education Department will be study by ourselves and teachers. Eash activity will contain with language and literature. Another purpose we embrace the students use “thinking” and “consider” until many skills by relate. The activity of evaluate will separate by objective learning and other skills is has a key and suggestion detail in each lesson. It is comfortable to find by students.

               The result of the research show that students can study and decide by themselves. The students can make the objective learning and can find other activities. They can free by themselves. The teachers can give comfortable and held them when they have some problems. The students have ability and get a good score.

สารบัญ

เรื่อง                                                                                                                                                หน้า

บทที่ ๑                                                                                                                                              ๑

วัตถุประสงค์และขอบเขต

ของการพัฒนาการเรียนการสอน

บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑

บทที่ ๒                                                                                                                                              ๔

แนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอน

บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑

บทที่ ๓                                                                                                                                              ๖

รูปแบบและการดำเนินการจัดทำนวัตกรรม

ในการพัฒนาการเรียนการสอน

บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑

บทที่ ๔                                                                                                                                             ๙

ผลการวิจัย

บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑

บทที่ ๕ ๑๕

สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ

บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑

คำนำ

               การจัดทำเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑ -๑๗ มีวัตถุประสงค์คือ เมื่อนักเรียนฟังคำอธิบาย คำบรรยาย เรื่องเล่า นิทาน ข่าว และบทความแล้วสามารถจับใจความสำคัญและมีมารยาทในการฟังได้ เมื่อนักเรียนฟังคำอธิบาย เรื่องเล่า นิทาน ข่าว และบทความแล้วสามารถแยกข้อเท็จจริงจากข้อคิดเห็นและมีมารยาทในารฟังได้ เมื่อนักเรียนฟังคำอธิบาย คำบรรยาย เรื่องเล่า นิทาน ข่าว และบทความแล้วสามารถตีความ แปลความ ขยายความจากเรื่องที่ฟังได้ นักเรียนสามารถพูดรายงานถูกต้องตามวัตถุประสงค์ และมีมารยาทในการพูดได้ นักเรียนสามารถพูดอธิบาย และพูดชี้แจงเหตุผลได้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ และมีมารยาทในการพูด นักเรียนสามารถออกเสียงทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถูกต้อง นักเรียนสามารถจับใจความสำคัญและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านได้ นักเรียนสามารถแยกข้อเท็จจริงข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านได้ และตีความจากเรื่องที่อ่านได้ นักเรียนสามารถเลือกอ่านหนังสือได้ตรงตามความต้องการได้ นักเรียนสามารถคัดลอกข้อความและเขียนตามคำบอก จดบันทึกข้อความที่อ่านและฟังได้ถูกต้อง นักเรียนสามารถเขียนจดหมายส่วนตัว จดหมายกิจธุระ และกรอกแบบฟอร์มได้ถูกต้อง นักเรียนสามารถเขียนย่อความจากเรื่องที่กำหนดได้ นักเรียนสามารถเขียนขยายความ และเขียนเรียงความจากข้อเท็จจริงหรือจินตนาการได้ นักเรียนสามารถแต่งคำประพันธ์ตามความสนใจได้ นักเรียนสามารถมีความรู้ความเข้าใจในเรืองเสียงในภาษา นักเรียนสามารถมีความรู้ความเข้าใจในการใช้พจนานุกรมได้ถูกต้อง นักเรียนสามารถบอกลักษณะของอักษรไทย และการเขียนตัวอักษรไทยได้ถูกต้อง

               บทเรียนสำเร็จรูปหรือบทเรียนโปรแกรมเป็นบทเรียนที่สร้างขึ้นโดยกำหนดเนื้อหา วัตถุประสงค์ วิธีการ ตลอดจนอุปกรณ์การสอนไว้ล่วงหน้า ผู้เรียนสามารถศึกษาค้นคว้า และประเมินผลการเรียนด้วยตนเองตามขั้นตอนที่กำหนดไว้ และมีการเสริมแรงแก่ผู้เรียนเป็นระยะ ๆ โดยการเฉลยคำตอบให้ทันที โดยกำหนดเนื้อหาที่แบ่งเป็นตอนย่อย ๆ หรือกรอบ หรือเฟรม (Frame) โดยเสนอเนื้อหาทีละน้อย มีคำถามให้นักเรียนคิด ทำกิจกรรม หรือตอบ แล้วเฉลยคำตอบให้ทราบทันที จึงถือได้ว่าผู้เรียนสามารถรับรู้ได้ด้วยตนเอง และเป็นไปตามความสามารถของแต่ละบุคคล

               บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ แบ่งออกเป็น ๑๗ บทเรียนสำเร็จรูป ดังนี้

               บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑ เรื่อง การฟังคำบรรยาย คำอธิบาย เพื่อจับใจความสำคัญ นิด หน่อย ๆ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๒ เรื่อง การแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากการฟังความสนุกในวัดเบญจมบพิตร บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๓ เรื่อง สัตวาภิธาน บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๔ เรื่อง การพูดรายงาน บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๕ เรื่อง บทละครำเรื่องพระร่วง บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๖ เรื่อง นิราศเมืองแกลง บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๗ เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ ไขภาษา บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๘ เรื่อง การแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น พระยาพิชัยดาบหัก บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๙ เรื่อง การเลือกอ่านหนังสือ ตามล่า พลายจำปา บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๐ เรื่อง การคัดลอกข้อความ การเขียนตามคำบอก การจดบันทึก

               บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๑ เรื่อง การเขียนจดหมายและการกรอกแบบฟอร์ม บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๒ เรื่อง การเขียนย่อความ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๓ เรื่อง การเขียนขยายความ การเขียนเรียงความ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๔ เรื่อง การแต่งคำประพันธ์ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๕ เรื่อง เสียงในภาษาไทย บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๖ เรื่อง การใช้พจนานุกรม บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๗ เรื่อง อักษรไทยและหลักการเขียนตัวอักษร

               กาพัฒนาการเรียนการสอนนี้ผู้มีส่วนที่ทำให้สำเร็จ คือ นายกริช เถาว์โท และ นายสุรศักดิ์ คงไชย กับผู้ร่วมงานคนอื่น ๆ จึงขอขอบคุณไว้ ณ โอกาสนี้

                                                                                                                           รังสรรค์ กลิ่นแก้ว

                                                                                                                       (นายรังสรรค์ กลิ่นแก้ว)

                                                                                                                           อาจารย์ ๓ ระดับ ๘

                                                                                                                          ๒๖ สิงหาคม ๒๕๔๗

โรงเรียนบางพลีราษฎร์บำรุง

อำเภอบางพลี

จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๕๔๐ โทร. ๐๖ - ๘๙๑ - ๕๓๘๑

สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

บทที่ ๑

วัตถุประสงค์และขอบเขต

ของการพัฒนาการเรียนการสอน

บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑

               วัตถุประสงค์

               ๑. เมื่อนักเรียนฟังคำอธิบาย คำบรรยาย เรื่องเล่า นิทาน ข่าว และบทความแล้วสามารถจับใจความสำคัญและมีมารยาทในการฟังได้

               ๒. เมื่อนักเรียนฟังคำอธิบาย เรื่องเล่า นิทาน ข่าว และบทความแล้วสามารถแยกข้อเท็จจริงจากข้อคิดเห็นและมีมารยาทในารฟังได้

               ๓. เมื่อนักเรียนฟังคำอธิบาย คำบรรยาย เรื่องเล่า นิทาน ข่าว และบทความแล้วสามารถตีความ แปลความ ขยายความจากเรื่องที่ฟังได้

               ๔. นักเรียนสามารถพูดรายงานถูกต้องตามวัตถุประสงค์ และมีมารยาทในการพูดได้

               ๕. นักเรียนสามารถพูดอธิบาย และพูดชี้แจงเหตุผลได้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ และมีมารยาทในการพูด

               ๖. นักเรียนสามารถออกเสียงทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถูกต้อง

               ๗. นักเรียนสามารถจับใจความสำคัญและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านได้

               ๘. นักเรียนสามารถแยกข้อเท็จจริงข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านได้ และตีความจากเรื่องที่อ่านได้

               ๙. นักเรียนสามารถเลือกอ่านหนังสือได้ตรงตามความต้องการได้

             ๑๐. นักเรียนสามารถคัดลอกข้อความและเขียนตามคำบอก จดบันทึกข้อความที่อ่านและฟังได้ถูกต้อง

             ๑๑. นักเรียนสามารถเขียนจดหมายส่วนตัว จดหมายกิจธุระ และกรอกแบบฟอมร์ได้ถูกต้อง

             ๑๒. นักเรียนสามารถเขียนย่อความจากเรื่องที่กำหนดได้

             ๑๓. นักเรียนสามารถเขียนขยายความ และเขียนเรียงความจากข้อเท็จจริงหรือจินตนาการได้

             ๑๔. นักเรียนสามารถแต่งคำประพันธ์ตามความสนใจได้

             ๑๕. นักเรียนสามารถมีความรู้ความเข้าใจในเรืองเสียงในภาษา

             ๑๖. นักเรียนสามารถมีความรู้ความเข้าใจในการใช้พจนานุกรมได้ถูกต้อง

             ๑๗. นักเรียนสามารถบอกลักษณะของอักษรไทย และการเขียนตัวอักษรไทยได้ถูกต้อง

              ๑. ปัญหาและความจำเป็นในการพัฒนา

                    ๑.๑ การศึกษาผลการเรียนการสอน

               จากการศึกษาผลการเรียนของนักเรียนในวิชาภาษาไทย ท ๑๐๑ ย้อนหลัง ๓ ปี ปรากฏตามตารางที่ ๑ ดังนี้

ตารางที่ ๑ แสดงผลการเรียน ๓ ปีการศึกษา

ผลการเรียน
๒๕๓๘
๒๕๓๙
๒๕๔๐
 
คน
เปอร์เซ็นต์
คน
เปอร์เซ็นต์
คน
เปอร์เซ็นต์
ระดับ ๑
ระดับ ๒
ระดับ ๓
ระดับ ๔
๓๕
๖๐
๑๔
๓๑.๔๓
๔๔.๔๕
๑๒.๖๑
๐.๙๐
๘๓
๕๒
๑๕
๕๔.๒๔
๓๓.๙๘
๙.๘๐
๑.๙๖
๑๒๙
๔๘
๒๘
๖๒.๐๑
๒๓.๐๗
๑๓.๔๖
๑.๔๔
รวม
๑๑๑
๑๐๐
๑๕๓
๑๐๐
๒๐๘
๑๐๐

ที่มา

               ผลการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑/๑/๒/๓, ๑/๑/๒/๓/๔, ๑/๑/๒/๓/๔/๕ ทะเบียนนักเรียน (รบ.๓ ต.) โรงเรียนกุดข้าวปุ้นวิทยา พ.ศ. ๒๕๓๘, ๒๕๓๙, ๒๕๔๐ (ประมวล โดย นายรังสรรค์ กลิ่นแก้ว)

              จากตารางที่ ๑ ปรากฏว่าในระยะเวลา ๓ ปี ผลการเรียนของนักเรียนมีสัมฤทธิ์ผลการเรียนสูง ผลการเรียนดีขึ้น ระดับคะแนนสูงขึ้น การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ

               ๑.๒ การศึกษาผลการเรียนเปรียบเทียบ

               หากพิจารณาเปรียบเทียบกับผลการเรียนของนักเรียนย้อนหลัง ๓ ปี ในกลุ่มภาษาไทย ท ๑๐๑ ตามตารางที่ ๒ จะปรากฏผล ดังนี้

ตารางที่ ๒ แสดงผลการเรียนของนักเรียนทั้งหมดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑

ผลการเรียน
๒๕๓๘
๒๕๓๙
๒๕๔๐
 
คน
เปอร์เซ็นต์
คน
เปอร์เซ็นต์
คน
เปอร์เซ็นต์
ระดับ ๑
ระดับ ๒
ระดับ ๓
ระดับ ๔
๕๕
๑๓๘
๔๖
๒๒.๘๒
๕๓.๔๒๖
๑๙.๐๘
๐.๔๑
๙๓
๗๑
๑๗
๕๐.๕๔
๓๘.๕๘
๙.๒๓
๑.๖๓
๑๒๙
๔๘
๒๘
๖๒.๐๑
๒๓.๐๗
๑๓.๔๖
๑.๔๔
รวม
๒๓๙
๑๐๐
๒๔๑
๑๐๐
๒๐๘
๑๐๐

ที่มา

               ผลการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ทะเบียนนักเรียน (รบ.๓ ต.) โรงเรียนกุข้าวปุ้นวิทยา พ.ศ. ๒๕๓๘, ๒๕๓๙, ๒๕๔๐ (ประมวล โดย นายรังสรรค์ กลิ่นแก้ว)

บทที่ ๒

แนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอน

บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑

               ๑. กาศึกษาแนวทางจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง

                              ก.  ด้านความรู้ความสมบูรณ์ของเนื้อหา

๑. เนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตร

๒. การจัดเนื้อหาเหมาะสม

๓. เนื้อหามีความยากง่ายเหมาะสมกับระดับชั้น

๔. เนื้อหาทันสมัยถูกต้องตามหลักและลักษณะของวิชา

๕. การอธิบายเนื้อหา คำศัพท์ และสำนวนที่นักเรียนเข้าใจได้ง่าย

๖. คำอธิบาย คำจำกัดความ และตัวอย่างชัดเจ

๗. มีแบบการเรียนน่าสนใจ แนวคิดและค่านิยมถูกต้อง

๘. เนื้อหาแต่ละบทแต่ละหัวข้อมีปริมาณเหมาะสม

ข.  ด้านสติปัญญา ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และความก้าวหน้าทางวิชาการ

๑. เนื้อหาสอดคล้องกับหลักการเรียนการสอน

๒. เนื้อมีความสัมพันธ์กับประสบประการณ์ของผู้เรียน

๓. เนื้อหาได้จากการรวบรวม เรียบเรียง วิเคราะห์ ปรับปรุง ประยุกต์มีคุณค่า

๔. ส่งเสริมให้เกิดความคิดและค้นคว้า

๕. สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

ค.ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน

๑. กิจกรรมการเรียนการสอนน่าสนใจ จูงใจให้ใฝ่หาความรู้

๒. นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียน

๓. นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอนได้

๔. ก่อให้เกิดการเรียนรู้ได้รวดเร็ว

๕. สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้

                             ๖. เอื้อประโยชน์ต่อการเรียนการสอน

                             ง. ด้านสื่อการเรียน

                             ๑. มีภาพประกอบเหมาะสม

                             ๒. มีแผนภูมิใบงาน ใบความรู้ แผนปฏิบัติงานหรือบทปฏิบัติการณ์เหมาะสม

                             ๓. สามารถสื่อความหมายสอดคล้องกับเนื้อหา หรือมีคำอธิบายประกอบชัดเจน

                             ๔. มีคู่มือ หรือคำชี้แจง แนะนำวิธีการ หรือวิธีใช้เหมาะสม

                             ๕. มีสื่ออุปกรณ์หรือสื่อการเรียนเพียงพอ

                              จ. ด้านการจัดทำรูปเล่มและการพิมพ์

                              ๑. ขนาดรูปเล่ม ความกว้าง ยาว หนา เหมาะสม

                              ๒. ปกทนทานสวยงาม กระดาษคุณภาพดีคงทน

                              ๓. การพิมพ์ เช่น การเรียงพิมพ์ การขึ้นบท การแบ่งวรรคตอน ย่อหน้า ช่องไฟ มีระเบียบและสวยงาม

                             ๔. ตัวอักษรชัดเจน ขนาดพอเหมาะ การใช้พยัญชนะ สระ ย่อหน้า วรรคตอน และช่องไฟ มีระเบียบและสวยงาม

                             ๕. มีสาระต่าง ๆ ประกอบครบถ้วน เช่น หน้าปกใน คำนำ สารบัญ บรรณานุกรม และภาคผนวก

                              ฉ. ด้านการวัดและประเมินผล

๑. คำชี้แจง การวัดและประเมินผลถูกต้อง

๒. เครื่องมือการวัดผลถูกต้องตรงจุดประสงค์

๓. เครื่องมือวัดผล สามารถนำไปใช้ได้สะดวก

๔. เครื่องมือวัดผลมีคุณค่า

๒. การศึกษาแนวทางจากผลการจัดการเรียนการสอน

               จากการประเมินผลการสอนในระยะ ๓ ปี ที่ผ่านมา (ตามแบบประเมินในภาคผนวก) ปรากฏผลการดำเนินการสอน ดังตารางที่ ๓

ตารางที่ ๓ แสดงการประเมินผลการสอนในระยะเวลา ๓ ปีย้อนหลัง

รายการประเมิน
ระดับคะแนน
 
๑. เกี่ยวกับกระบวนการเรียนการสอน ๑. การวางแผนการสอน ๒. การเตรียมการสอน ๓. การทำการสอน ๔. การใช้สื่อและอุปกรณ์การสอน ๕. การวัดผลการสอน ๖. การแก้ปัญหาการสอน ๒. เกี่ยวกับความพร้อมของหลักสูตรโรงเรียนและปัจจัยต่าง ๆ ๑. การสนับสนุนของโรงเรียนเกี่ยวกับการเงิน ๒. การสนับสนุนของโรงเรียนด้านอุปกรณ์การสอน ๓. การสนับสนุนด้านเอกสาร การให้คำแนะนำ และอื่น ๆ ๔. ด้านการสนับสนุนเครื่องคอมพิวเตอร์ ๓. เกี่ยวกับนักเรียน ๑. สภาพของครอบครัว ๒. พื้นความรู้ ๓. ความสนใจ ๔. เศรษฐกิจ ๕. ข่าวสาร ๔. เกี่ยวกับครูผู้สอน ๑. ได้ทุ่มเทความสามารถเต็มที่ ๒. ได้พยายามพัฒนา ๓. ได้สละอุทิศเวลา ๔. ได้จัดทำด้วยตนเอง ๕. ได้ประสานงานกับส่วนที่เกี่ยวข้อง
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
- - - - - - - - - - / / / / / - - - - -
/ / / / / / / / / / - - - - - / / / / /
รวม
-
-
-
๑๕
๖๐

บทที่ ๓

รูปแบบและการดำเนินการจัดทำนวัตกรรม

ในการพัฒนาการเรียนการสอน

บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑

               นวัตกรรมที่มาใช้ในการเรียนการสอน

               ผลงานทางวิชาการประเภทบทเรียนสำเร็จรูป

               การเรียนกาสอนที่ดีนั้นมี ๒ อย่าง คือ แบบเรียนครูเป็นผู้ควบคุมการเรียนชองนักเรียน และอีกแบบคือนักเรียนเป็นผู้ควบคุมการเรียนของตนเอง

               การสอนในทุกวันนี้ส่วนใหญ่จะเป็นแบบแรก คือ ครูเป็นผู้ดำเนินการเอง เป็นผู้ป้อนความรู้ให้แก่นักเรียน เป็นผู้กำหนดว่านักเรียนควรรู้อะไร ควรเรียนอะไร ยกเว้นอยู่อย่างเดียว คือ ครูไม่เป็นผู้เรียนเสียเอง จุดอ่อนก็คือครูบังคับให้ทุกคนต้องเรียนรู้ในอัตราความสามารถที่เท่ากันด้วยวิธีเดียวกัน ตัดสินใจให้นักเรียนเองทุกอย่างว่าจะต้องทำอะไร เมื่อไร และอย่างไร

               ในทางตรงกันข้ามโดยหลักจิตวิทยาแล้ว นักเรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง ตัดสินใจเรียนอะไรที่เขาต้องการเอง ผู้เรียนสามารถสร้างจุดประสงค์ในการเรียนรู้ สามารถหาแหล่งวิชาทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง จุดประสงค์ของการสอนก็คือ ให้ผู้เรียนมีอิสระเต็มที่ เป็นตัวของตนเอง ครูเป็นเพียงผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ และให้ความช่วยเหลือเท่านั้น บทบาทในทางตรงกันข้ามนี้ก็คือ วิธีการของ “บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑“ ซึ่งได้มีวิวัฒนาการมาประมาณ ๗๐ ปีแล้ว

               ๑. ความหมาย

               บทเรียนสำเร็จรูปหรือบทเรียนโปรแกรมเป็นบทเรียนที่สร้างขึ้นโดยกำหนดเนื้อหา วัตถุประสงค์ วิธีการ ตลอดจนอุปกรณ์การสอนไว้ล่วงหน้า ผู้เรียนสามารถศึกษาค้นคว้า และประเมินผลการเรียนด้วยตนเองตามขั้นตอนที่กำหนดไว้ และมีการเสริมแรงแก่ผู้เรียนเป็นระยะ ๆ โดยการเฉลยคำตอบให้ทันที โดยกำหนดเนื้อหาที่แบ่งเป็นตอนย่อย ๆ หรือกรอบ หรือเฟรม (Frame) โดยเสนอเนื้อหาทีละน้อย มีคำถามให้นักเรียนคิด ทำกิจกรรม หรือตอบ แล้วเฉลยคำตอบให้ทราบทันที จึงถือได้ว่าผู้เรียนสามารถรับรู้ได้ด้วยตนเอง และเป็นไปตามความสามารถของแต่ละบุคคล

               ๒. หลักในการเขียนบทเรียนสำเร็จรูป

               ๑. การตอบสนองทันที (Active Responding)

               ผู้เรียนจะเรียนได้ดีนั้น ต้องสนใจในบทเรียนก่อน และสิ่งที่จะอ้างให้สนใจบทเรียนต่อไป คือ มีโอกาสตอบสนองบทเรียนได้ด้วยตนเอง ซึ่งอาจให้สอบคำตอบเลือกคำตอบ หรือให้ทำ หรือเขียนอะไรสักอย่าง

               ๒. ให้ผิดแต่น้อย (Minimal Error)

               สิ่งสำคัญอย่างหนึ่งก็คือให้ผู้เรียนสามารถตอบคำถามให้ถูกต้อง หรือผิดน้อยที่สุด ในกรณีที่ทำผิดก็ให้เขาได้แก้ตัว หรือเรียนรู้จากการกระทำผิด เข้าลักษณะผิดเป็นครูนั่นเอง

               ๓. ตรวจสอบผลการเรียนรู้ (Knowledge Of Results)

               เมื่อผู้เรียนได้รู้ว่าสิ่งที่เขาทำได้ถูกต้อง คำตอบก็จะเป็นกำลังใจแก่ผู้เรียนที่จะเรียนต่อไป ตรงกันข้าม ถ้าผู้เรียนทำผิด ก็มีโอกาสแก้ไขสิ่งที่ผิดพลาดให้ถูกต้องได้

               ๔.  ขั้นย่อย (Small Steps)

บทเรียนโดยทั่วไปกำหนดไว้กว้างมากสำหรับผู้เรียนบทเรียนสำเร็จรูป จะย่อยบทเรียนให้เล็กลง สะดวกต่อการเรียนรู้ของนักเรียน สำหรับนักเรียนที่ฉลาดก็ข้ามบทเรียนบางบทไปได้

               ๕.  ประสิทธิภาพของประเรียน (Program Effectivenes)

               การสร้างบทเรียนนั้น ต้องหาประสิทธิภาพจากผู้เรียน ว่าสามารถเรียนรู้ได้ดีจากบทเรียนเพียงใด

บทที่ ๔

ผลการวิจัย

บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑

               ๑. การดำเนินการพัฒนาการเรียนการสอน

               การดำเนินการพัฒนาการเรียนการสอน ได้ดำเนินการ ดังนี้

               ตารางที่ ๔ แสดงการดำเนินการในการพัฒนาการเรียนการสอน

รายการ

กำหนดการ

๑. ครั้งที่ ๑

๑.๑ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑ ๑.๒ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๒ ๑.๓ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๓ ๑.๔ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๔ ๑.๕ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๕ ๑.๖ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๖ ๑.๗ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๗ ๑.๘ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๘ ๑.๙ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๙ ๑.๑๐ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๐ ๑.๑๑ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๑ ๑.๑๒ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๒ ๑.๑๓ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๓ ๑.๑๔ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๔ ๑.๑๕ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๕ ๑.๑๖ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๖ ๑.๑๗ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๗

-

๑๐,๑๑,๑๒ พฤษภาคม ๒๕๓๘ ๑๕,๑๖,๑๗,๑๘,๑๙ พฤษภาคม ๒๕๓๘ ๒๒,๒๓,๒๔,๒๕,๒๖,๒๙,๓๐,๓๑ พ.ค ๒๕๓๘ ๑,๒,๕,๖,๗,๙ มิถุนายน ๒๕๓๘ ๖,๗,๘,๑๑,๑๒ กันยายน ๒๕๓๘ ๑,๒,๓,๔,๘,๙ พฤษภาคม ๒๕๓๘ ๑๕ กันยายน ๒๕๓๘ ๑๘ กันยายน ๒๕๓๘ ๓๑ ก.ค.,๑,๒,๓,๔,๗,๘,๙,๑๐,๑๑,๑๔,๑๖ ส.ค.๓๘ ๑๙,๒๐ กันยายน ๒๕๓๘ ๑๗,๑๘,๒๑,๒๒,๒๓,๒๔ สิงหาคม ๒๕๓๘ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๓๘ ๒๘,๒๙,๓๐,๓๑ ส.ค ๓๘ ๑.๔ ก.ย ๒๕๓๘ ๕ กันยายน ๒๕๓๘ ๑๒,๑๓,๑๔,๑๕ มิถุนายน ๒๕๓๘ ๒๒,๒๓,๒๖,๒๗,๒๘,๒๙ ม.ย ๔,๕,๖,๗ก.ค.๓๘ ๑๙,๒๐ กันยายน ๒๕๓๘

๑๐

รายการ

กำหนดการ

๒. ครั้งที่ ๒

๑.๑ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑ ๑.๒ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๒ ๑.๓ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๓ ๑.๔ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๔ ๑.๕ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๕ ๑.๖ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๖ ๑.๗ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๗ ๑.๘ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๘ ๑.๙ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๙ ๑.๑๐ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๐ ๑.๑๑ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๑ ๑.๑๒ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๒ ๑.๑๓ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๓ ๑.๑๔ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๔ ๑.๑๕ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๕ ๑.๑๖ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๖ ๑.๑๗ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๗

-

๑,๒,๓ พฤษภาคม ๒๕๓๙ ๗,๘,๙ พฤษภาคม ๒๕๓๙ ๑๐,๑๓,๑๔ พฤษภาคม ๒๕๓๙ ๑๕,๑๗,๒๐,๒๑ พฤษภาคม ๒๕๓๙ ๒๒,๒๓,๒๔,๒๗,๒๘ พฤษภาคม ๒๕๓๙ ๒๙,๓๐ พ.ค ๓,๔,๕,๖ มิถุนายน ๒๕๓๙ ๗,๑๐,๑๑,๑๒,๑๓,๑๔ มิถุนายน ๒๕๓๙ ๗.๘,๙ สิงหาคม ๒๕๓๙ ๒๔,๒๕,๒๖ กรกฎาคม ๒๕๓๙ ๑๗,๑๘,๑๙,๒๐ มิถุนายน ๒๕๓๙ ๓,๔,๕,๘,๙,๑๐,๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๙ ๑๒,๑๕,๑๖,๑๗,๑๘,๑๙,๒๒,๒๓ ก.ค ๒๕๓๙ ๑,๕,๖ สิงหาคม ๒๕๓๙ ๑๖,๑๙,๒๐,๒๑,๒๒ สิงหาคม ๒๕๓๙ ๒๑,๒๔,๒๕,๒๖ มิถุนายน ๒๕๓๙ ๒๗,๒๘ มิถุนายน ๑,๒ กรกฎาคม ๒๕๓๙ ๒๖,๒๗,๒๘,๒๙,๓๐ส.ค๒,๓,๔,๕,๖,๙,๑๐,๑๑,๑๒,๑๓ก.ย.๓๙

๑๑

รายการ

กำหนดการ

๓. ครั้งที่ ๓

๑.๑ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑ ๑.๒ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๒ ๑.๓ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๓ ๑.๔ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๔ ๑.๕ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๕ ๑.๖ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๖ ๑.๗ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๗ ๑.๘ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๘ ๑.๙ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๙ ๑.๑๐ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๐ ๑.๑๑ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๑ ๑.๑๒ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๒ ๑.๑๓ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๓ ๑.๑๔ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๔ ๑.๑๕ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๕ ๑.๑๖ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๖ ๑.๑๗ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๗ ๔. การปรับปรุงครั้งสุดท้าย ๕. การสรุปผลและเขียนรายงาน

-

๖ ,๗ พฤษภาคม ๒๕๔๐ ๘ พฤษภาคม ๒๕๔๐ ๑๒,๑๓,๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๐ ๑๕,๑๖,๑๗,๑๘,๑๙,๒๑ พฤษภาคม ๒๕๔๐ ๑,๒,๓,๔,๗,๘ กรกฎาคม ๒๕๔๐ ๒๒,๒๓,๒๖,๒๗,๒๘,๒๙ พฤษภาคม ๒๕๔๐ ๕,๖,๙,๑๐,๑๑,๑๒ มิถุนายน ๒๕๔๐ ๑๖,๑๗,๑๙,๒๐,๒๒,๒๓ กันยายน ๒๕๔๐ ๗,๑๐,๑๑,๑๔ กรกฎาคม ๒๕๔๐ ๓๐ พฤษภาคม ๒,๓,๔, มิถุนายน ๒๕๔๐ ๑๕,๑๖,๑๗,๑๘,๒๑,๒๒ กรกฎาคม ๒๕๔๐ ๒๓,๒๔,๒๕,๒๘,๒๙ ก.ค. ๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๐ ๑๔,๑๕,๑๘,๑๙,๒๐,๒๑,๒๒,๒๕ สิงหาคม ๒๕๔๐ ๒๖,๒๗,๒๘ สิงหาคม ๑๓,๑๖,๑๗ มิถุนายน ๒๕๔๐ ๑๓,๑๖,๑๗,๑๘,๑๙,๒๐ มิถุนายน ๒๕๔๐ ๒๓,๒๔,๒๕,๒๖,๒๗,๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๐ ๒๙ ส.ค. ๑,๒,๓,๔,๕,๘,๙,๑๐,๑๑,๑๒,๑๕ กันยายน ๒๕๔๐ ๑๗ กันยายน ๒๕๔๐ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๐

               ๒. ผลการพัฒนาการเรียนการสอน

               ครั้งที่ ๑ (ปีการศึกษา ๒๕๓๘)

               ๒.๑ ผลการใช้บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ นวัตกรรม/เรื่อง

               ๒.๑ ผลการใช้บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ นวัตกรรม/เรื่อง การสอนปรากฎผลตามตารางที่ ๑ - ๓ ดังนี้

๑๒

ตารางที่ ๑ แสดงผลการประเมินการใช้บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ และนวัตกรรม

ครั้งที่ ๑ (ปีการศึกษา ๒๕๓๘)

ที่

บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑

คะแนน

 

 

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙

คำแนะนำในการศึกษาบทเรียน การกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ ขอบข่ายเนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตร ความเหมาะสมของกิจกรรม ความเหมาะสมของเวลา ความเหมาะสมของสื่อ ความเหมาะสมของคำถาม ความเหมาะสมของเฉลย ความสนใจของนักเรียน ผลการเรียนของนักเรียน การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การให้โอกาสและเห็นความสำคัญของนักเรียน การสร้างบรรยากาศที่ดี การจัดกิจกรรมอย่างหลากหลาย สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ เกิดการเรียนรู้ได้เร็ว มีภาพ (การ์ตูน) ประกอบเหมาะสม ปกครองชั้นมีความปลอดภัย ความเหมาะสมของแบบประเมินผล

- - - - - - - - - - - - - - - - - - -

- - - - - - - - -- - - - - - - - - - -

/ / / / / / / / / / / / / / / / / / /

- - - - - - - - - - - - - - - - - - -

- - - - - - - - - - - - - - - - - - -

 

รวม

-

-

๔๗

-

-

๑๓

               ผลสัมฤทธิ์

               ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนวิชาภาษาไทย ท ๑๐๑ มีดังตารางที่ ๒ ต่อไปนี้

ตารางที่ ๒ แสดงผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน

ระดับคะแนน

คน

เปอร์เซ็นต์

ระดับ ๐

ระดับ ๑

ระดับ ๒

ระดับ ๓

ระดับ ๔

๓๕

๖๑

๑๔

๓๑.๕๓

๕๔.๔๕

๑๒.๖๑

๐.๙๐

รวม

๑๑๑

๑๐๐

               จากตารางที่ ๒ พบว่านักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑/๑/๒/๓ ที่เรียนวิชาภาษาไทย ท ๑๐๑ โดยใช้วิธีสอนแบบบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑ -๑๗ ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ทุกข้อทุกคน ผลการเรียนอยู่ในระดับดี ผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น

               ๒.๓ ผลในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักเรียนมีดังตารางดังต่อไปนี้

๑๔

ตารางที่ ๓ แสดงพฤติกรรมของนักเรียน

ที่

รายการ

คะแนน

 

 

 

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐

ปฎิบัติตามคำแนะนำ ความสนุกสนาน การได้รับความรู้ การได้แลกความคิดเเห็นจากเพื่อน การได้ร่วมกันคิดและร่วมกันทำ การได้ร่วมกันแก้ปัญหา การให้โอกาสและเห็นความสำคัญของนักเรียน การได้ร่วมกิจกรรมอย่างหลากหลาย สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ เกิดการเรียนรู้ได้รวดเร็ว มีวินัย การสร้างบรรยากาศที่ดี มีความซื่อสัตย์ มีอิสระในการเรียน ทราบคำตอบได้ทันที เกิดกำลังใจในการเรียน มีคุณธรรม มีความสนใจ จูงใจใฝ่หาความรู้ ผลการเรียนของนักเรียน

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

/ / / / / / / / / / / / / / / / / / / /

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

 

รวม

-

-

-

๖๐

-

               จากตารางที่ ๓ พบว่า นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ที่เรียนด้วยวิธีการสอนแบบบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑ - ๑๗ มีพฤติกรรมที่ดี

๑๕

               ๒.๔ การปรับปรุงบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ และนวัตกรรมหรือสื่อการเรียนการสอน

               เมื่อได้นำไปใช้แล้วได้มีการปรับปรุงบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ และสื่อการเรียนการสอน ดังนี้

             ตารางที่ ๔ แสดงการปรับปรุงบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ และสื่อการเรียนการสอน

ที่

บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑

คะแนน

 

 

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗

บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๒ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๓ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๔ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๕ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๖ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๗ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๘ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๙ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๐ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๑ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๒ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๓ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๔ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๕ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๖ บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑๗

- - - - - - - - - - - - - - - - -

- - - - - - - - - - - - - - - - -

//////////////

 

/

 

/

 /

- - - - - - - - - - - - - - - - -

- - - - - - - - - - - - - - -- - -

 

รวม

-

-

๕๑

-

-

บทที่ ๕

สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ

บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑

               ๑. สรุปการดำเนินการ

                    ๑.๑ ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาในการปฎิบัติงานหรือการสอน โดยให้ครู - อาจารย์ ตอบแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับเอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชาภาษาไทย บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑ - ๑๗ ดังนี้

                    ๑.๑ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้านกาบิน อำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี

                     ๑.๒ ผู้อำนวยการโรงเรียนศรีปทุมพิทยาคาร โรงเรียนศรีปทุมพิทยาคาร อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี

                    ๑.๓ ผู้อำนวยการโรงเรียนนารีนุกูล โรงเรียนนารีนุกูล อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี

                    ๑.๔ ผู้อำนวยการโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี

                    ๑.๒ ศึกษาเนื้อหา หลักสูตรและเอกสารต่าง ๆ เพื่อตัดสินใจเลือกรูปแบบหรือวิธีการแก้ปัญหา

                    ๑.๓ ผลิตรูปแบบหรือวิธีการที่จะใช้ดำเนินการแก้ปัญหา หรือพัฒนาคุณภาพการศึกษาบทเรียนสำเร็จรูป

                            ๑.๓.๑ เข้าศูนย์ปฎิบัติการผลงานทางวิชาการ ณ โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี ในวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๓๘

                            ๑.๓.๒ เขียนบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑ -๑๗ (ฉบับสำเนา)

                            ๑.๓.๓ ศูนย์ปฏิบัติการผลงานทางวิชาการตรวจสอบความถูกต้อง

                            ๑.๓.๔ พิมพ์ผลงานทางวิชาการบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑ -๑๗ ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนกุดข้าวปุ้นวิทยา อำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี ๓๔๒๗๐

๑๗

                             ๑.๓.๕ เข้ารูปเล่มผลงานทางวิชาการบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑ -๑๗ กระดาษ เอ ๔ ปกแข็งคงทนถาวร

               ๑.๔ สร้างเครื่องมือสำหรับตรวจสอบและประเมินผล แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับเอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑ -๑๗

               ๑.๕ วางแผนการดำเนินการทดลองแก้ปัญหา และการดำเนินการแก้ปัญหาในสภาพการปฏิบัติงานหรือการสอนจริง

                       ๑.๕.๑ ศึกษาแนวการสอน

                       ๑.๕.๒ ทำแผนการสอนรายวิชาภาษาไทย ท ๑๐๑

                       ๑.๕.๓ สอนโดยใช้วิธีสอนบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ ๑ -๑๗

                       ๑.๕.๔ วัดผลและประเมินผล

                       ๑.๕.๕ ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายนิเทศตรวจสอบรับรอง

              ตารางที่ ๑ แสดงค่าคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผลการสอนวิชาภาษาไทย ท ๑๐๑ ปีการศึกษา ๒๕๓๘

ชั้น

N

x

S.D.

ม. ๑/๑

ม. ๑/๒

ม. ๑/๓

๔๐

๓๕

๓๖

๖๐.๙๙

๖๒.๑๙

๕๘.๙๔

๐.๐๕

๕.๐๕

-๐.๑๐

               คะแนนชุดใดที่มี X มาก และค่า S.D. น้อยจะดีมาก แสดงว่าผลเรียนมีความสามารถใกล้เคียงกัน และได้คะแนนสูงอีกด้วย

๑๘

               ตารางที่ ๔ แสดงค่าคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผลการสอนวิชาภาษาไทย ท ๑๐๑ ปีการศึกษา ๒๕๓๙

ชั้น

N

x

S.D.

ม. ๑/๑

ม. ๑/๒

ม. ๑/๓

ม. ๑/๔

๔๔

๔๑

๓๙

๒๙

๖๐.๒๕

๖๐.๔๓

๖๑.๐๗

๕๔.๐๖

๘.๗๕

๐.๐๕

๐.๐๐

๐.๐๐

               คะแนนชุดใดที่มี X มาก และค่า S.D. น้อยจะดีมาก แสดงว่าผลเรียนมีความสามารถใกล้เคียงกัน และได้คะแนนสูงอีกด้วย

               ตารางที่ ๕ แสดงค่าคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผลการสอนวิชาภาษาไทย ท ๑๐๑ ปีการศึกษา ๒๕๔๐

ชั้น

N

x

S.D.

ม. ๑/๑

ม. ๑/๒

ม. ๑/๓

ม. ๑/๔

ม. ๑/๕

๔๙

๔๘

๓๙

๒๔

๔๘

๖๐.๐๐

๖๐.๐๒

๖๑.๙๒

๖๐.๗๕

๕๒.๔๓

๘.๘๙

๘.๕๔

๙.๑๑

๘.๓๐

๓.๕๖

               คะแนนชุดใดที่มี X มาก และค่า S.D. น้อยจะดีมาก แสดงว่าผลเรียนมีความสามารถใกล้เคียงกัน และได้คะแนนสูงอีกด้วย

               ตารางที่ ๖ ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ใช้วิธีสอนแบบบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ กับการสอนปกติ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑/๒ กับระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑/๔ ของนางกัญนา สินลือนาม ปีการศึกษา ๒๕๓๘ ดังนี้

วิธีสอน

N

-

X

S.D.

t

สอนแบบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑

สอนแบบปกติ

 

๓๑

๖๒.๑๙

๖๔.๘๓

๕.๐๕

๖.๖๖

 

-๑.๗๔

Paired Differences SE Of Mean 1.51

๑๙

               ตารางที่ ๗ ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ใช้วิธีสอนแบบบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ กับการสอนปกติ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑/๑ กับระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑/๕ ของนางกัญนา สินลือนาม ปีการศึกษา ๒๕๓๙ ดังนี้

วิธีสอน

N

-

X

S.D.

t

สอนแบบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑

สอนแบบปกติ

 

๓๑

๖๐.๒๕

๕๙.๒๒

๘.๗๕

๖.๐๕

 

.๕๒

Paired Differences SE Of Mean 1.99

               ตารางที่ ๘ ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย ท ๑๐๑ ที่ใช้วิธีสอนแบบบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ กับการสอนปกติ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑/๑ กับระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑/๑ ของนางพิสมัย สุวรรณโค ปีการศึกษา ๒๕๔๐ ดังนี้

วิธีสอน

N

-

X

S.D.

t

สอนแบบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑

สอนแบบปกติ

 

๔๑

๖๐.๐๐

๖๖.๔๑

๘.๘๙

๖.๑๐

 

-๓.๘๓

Paired Differences SE Of Mean 1.67

               ข้อเสนอแนะ

               ๑. ศึกษาองค์ประกอบของบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ และจิตวิทยาที่เกี่ยวข้อง และกำหนดรูปแบบของบทเรียนว่าจะเป็นแบบใด จะเหมาะสมกับเนื้อหาและพื้นความรู้ของนักเรียน

               ๒. เลือกและวิเคราะห์เนื้อหา เหมาะสมกับผู้เรียนที่จะเรียนด้วยตนเองได้เหมาะสมกับเวลา มีเนื้อหาที่จะเป็นจริงและคงที่

               ๓. กำหนดแนวคิดและจุดประสงการเรียนรู้ของบทเรียน

               ๔. จัดทำคู่มือการใช้และแบบทดสอบก่อน-หลังเรียน บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ จะต้องมีคู่มือสำหรับครู และคู่มือสำหรับนักเรียน และต้องมีแบบทดสอบก่อน-หลัง บทเรียนด้วย

               ๕. ทดลองใช้แก้ไขปรับปรุงบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ นักเรียน

               บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ เมื่อขัดทำเสร็จแล้วต้องนำไปทดสอบก่อนนักเรียนเรียน เพื่อหาข้อผิดพลาดบกพร่อง ก่อนนำไปใช้สอนจริง หรือไปใช้เผยแพร่ต่อไป

บรรณานุกรม

กองเทพ เคลือบพณิชกุล, อาจารย์และคณะ .ภาษาไทยสำหรับสอบบรรจุเข้ารับราชการระบบ P.C.  ระดับ ๑ ๒ ๓.  กรุงเทพมหานคร : ภูมิบัณฑิต, ๒๕๕ หน้า

กองเทพ เคลือบพณิชกุล, อาจารย์และคณะ .อธิบายเฉลย - แนะแนวข้อสอบวิชาภาษาไทยชุด  พ.ม. กรุงเทพมหานคร : ประสานมิตร, ๕๙๖ หน้า

การประถมศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี, สำนักงาน .จุดประสงค์การเรียนรู้ แผนการสอนและข้อ  สอบตามจุดประสงค์  วิชา               

               ภาษาไทย ท ๑๐๑. จังหวัดอุบลราชธานี : กลุ่มที่ ๑ - ๔,  ๖๑ หน้า

การประถมศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี, สำนักงาน .จุดประสงค์การเรียนรู้ แผนการสอนและข้อ   สอบตามจุดประสงค์วิชา              

               ภาษาไทย ท ๑๐๒. นางสลักจิตและคณะ : ผู้พิมพ์ (กลุ่มที่ ๑ - ๔),  ๒๓ หน้า

คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ .คู่มือประกอบการชมการแสดงโครงการสีสันวรรณกรรมระดับชั้นมัธยมศึกษาษาตอนต้น. ๒๕๓๖,  ๕๘ หน้า            

รังสรรค์ กลิ่นแก้ว, อาจารย์ .รายงานการวิจัย เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๑๐๑ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑  ๒๕๔๐,  ๓๗๘ หน้า

                                    รายงานผลการวิจัยหน้าเดียว


ชื่อเรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๓๑๑๐๒

ผู้วิจัย นายรังสรรค์ กลิ่นแก้ว

สถานที่วิจัย โรงเรียนบางพลีราษฎร์บำรุง อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๕๔๐

ปีที่วิจัย พ.ศ. ๒๕๔๗

               การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาภาษไทย ท ๓๑๑๐๒ ที่สอนแบบบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย ท ๓๑๑๐๒ กับการสอนปกติ โดยจะชี้ให้เห็นถึงลักษณะที่แตกต่างไปจากการสอนปกติอื่น ๆ กับทั้งจะศึกษาตรงตมหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช ๒๕๔๔ (การศึกษาขั้นพื้นฐาน) การสอนภาษาไทย ของกระทรวงศึกษาธิการ เป็นวิธีสอนแบบเรียนด้วยตนเองส่วนหนึ่ง และการเรียนกับครูผู้สอนส่วนหนึ่ง กิจกรรมแต่ละบทเรียนมีเนื้อหาครอบคลุมความรู้เกี่ยวกับภาษาและวรรณคดี นอกจากความ รู้ ความจำ ความเข้าใจ เอเรื่องแล้ว ยังมุ่งให้นักเรียนใช้ความคิดและวิจารณญาณ ตลอดจนใช้ทักษะต่างๆ สัมพันธ์กัน กิจกรรมวัดผลจำแนกตามจุดประสงค์การเรียนรู้ และทักษะต่าง ๆ ตามแนวการประเมินผลที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน แต่ละบทเรียนได้เฉลยและวางแนวพร้อมทั้งมีข้อเสนอแนะในแต่ละเรื่องไว้ เพื่อสะดวกแก่การศึกษาค้นคว้าของนักเรียน

               ผลการวิจัยปราฏว่า นักเรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง ตัดสินใจเรียนอะไรที่เขาต้องการเอง ผู้เรียนสามารถสร้างจุดประสงค์ในการเรียนรู้ สามารถหาแหล่งวิชาทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง ผู้เรียนมีอิสระเต็มที่ เป็นตัวของตนเอง ครูเป็นเพียงผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ และให้ความช่วยเหลือเท่านั้น ผู้เรียนมีความสามารถใกล้เคียงกันและยังได้คะแนนสูงอีกด้วย เพื่อเน้นให้เห็นถึงลักษณะเฉพาะของการสอนอย่างชัดเจน





                                             ลงชื่อ…………………………………                  ลงชื่อ…………………………………

                                        (นายรังสรรค์ กลิ่นแก้ว)                 (นายบุญชู หวิงปัด)

                                            ครูนักวิจัย                              ผู้อำนวยการโรงเรียนบางพลีราษฎร์บำรุง

[หน้าถัดไป :      ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ >>]


โดย : นาย รังสรรค์ กลิ่นแก้ว, โรงเรียน กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ โทร.06-891-5381, วันที่ 20 ธันวาคม 2546