หน้าหลัก
ลักษณะสำคัญของหิ่งห้อย
กลไกการเปล่งแสง
กลไกควบคุมการเรืองแสง
แสง สี ที่เปล่งจากหิ่งห้อย
แหล่งที่อยู่อาศัยของหิ่งห้อย
วิวัฒนาการ
ทำไมต้องเปล่งแสง
การค้นพบหิ่งห้อยครั้งแรก
ความสำคัญของหิ่งห้อยในระบบนิเวศ
คุณสมบัติของหิ่งห้อย
เรื่องน่ารู้ของหิ่งห้อย
ที่มา : http://www.inhs.uiuc.edu/cee/biocontrol/predators/predgroups/photos/firefly3.html
หิ่งห้อยเป็นแมลงปีกแข็งขนาดเล็ก อาศัยอยู่ตามใบไม้ เมื่อผสมพันธ์แล้วจะวางไข่ฟองเดี่ยว ตามดินหรือที่ชื้นแฉะ ไข่ฟัก เป็นตัวหนอนมี 4-5วัน เข้าดักแด้ และเป็นตัวเต็มวัย หิ่งห้อยมีชีวิตอยู่ 3-12 เดือน แล้วแต่ละชนิด หิ่งห้อยก็จะกะพริบแสงเพื่อสื่อหาคู่ ของมันมาผสมพันธ์ แสงของหิ่งห้อยเกิดจากกระบวนการทางเคมี ซึ่งมีสารลูวิเฟอรินทำปฏิกิริยากับออกซิเจน เช่น ปฏิกิริยาลูซิเฟอเรส และ ได้รับพลังงาน เอทีพี เป็นโปรตีนที่ให้พลังงานในเซลล์ หิ่งห้อยชอบอกหากินในเวลากลางคืน โดยบริเวณที่มีน้ำที่สะอาด และบริเวณป่าโกงกางป่าชายฝั่งทะเล และต้นลำพูน ตัวหนอนของหิ่งห้อยอาศัยอยู่ในน้ำที่สะอาด หิ่งห้อยนี้ยังสามารถบอกความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศได้ด้วย หิ่งห้อยเรืองแสงได้ทั้งตัวผู้และตัวเมีย หิ่งห้อยกินสัตว์เล็กๆเป็นอาหาร แสงของหิ่งห้อยมีสีเขียวเหลือง หิ่งห้อยที่บินวอนตามพุ่มไม้เป็นหิ่งห้อยตัวผู้ ตัวเมียชอบเกาะนิ่งตามกิ่งไม้ใบไม้ หิ่งห้อยจะกะพริบแสงตลอด 24 ชั่วโมง เพราะเวลานำหิ่งห้อยมาขังไว้ในความมืดจะพบว่าหิ่งห้อยกะพริบแสง ตลอด 24 ชั่วโมง เราจะเห็นได้ว่าเวลาที่หิ่งห้อยกะพริบแสงนั้น จะกะพริบพร้อมๆกันแต่ถ้าเราแยกหิ่งห้อยออกจากกลุ่ม จะสังเกตเห็นการกะพริบแสงของหิ่งห้อยแต่ต่างกันไป เพราะถ้าหิ่งห้อยอยู่ในฝูงของมันหิ่งห้อยจะมีการปรับตัวเอง โดยการกะพริบแสงที่เหมือนกัน แล้วหิงห้อยยังสามารถบอกถึงฤดูกาลได้อีกด้วย ยามหิ่งห้อยออกหากินคือยามโพล้เพล้แล้วพระอาทิตย์ตกดินเล็กน้อย หรือในคืนข้างแรม เราจะพบว่ามันกะพริบแสงเหมือนไฟต้นคริสต์มาส มนุษย์รู้กับหิ่งห้อยมา 2000 ปี มาแล้ว คนจีนโบราณและชาวบราซิลในอดีตจะจับหิ่งห้อยใส่ขวดแก้ว เพื่อนใช้แทนตะเกียง ต้องใช้หิ่งห้อยตัวเต็มทีเพียง 6 ตัว ให้แสงสว่างก็เพียงพอสำหรับอ่านหนังสือในเวลากลางคืนได้ คนญี่ปุ่นก็นิยมใช้ตะเกียงหิ่งห้อยเช่นกันทุกวัน เรา จะพบหิ่งห้อยที่เอเชียตอนใต้ เช่น ไทย พม่า มาเลเชีย ยุโรป อเมริกาเหนือ และใต้ ในโลกเรามีหิ่งห้อยราว 2000 ชนิด ลำตัวหิ่งห้อย ยาว 2-25 มิลลิเมตร ในยุโรปหิ่งห้อยชอบกินน้ำหวานจากเกสรดอกดอกไม้ หิ่งห้อยอยู่ได้นานถึง 2 เดือน