หน้าหลัก
ลักษณะสำคัญของหิ่งห้อย
กลไกการเปล่งแสง
กลไกควบคุมการเรืองแสง
แสง สี ที่เปล่งจากหิ่งห้อย
แหล่งที่อยู่อาศัยของหิ่งห้อย
วิวัฒนาการ
ทำไมต้องเปล่งแสง
การค้นพบหิ่งห้อยครั้งแรก
ความสำคัญของหิ่งห้อยในระบบนิเวศ
คุณสมบัติของหิ่งห้อย
กลไกการเปล่งแสงของหิ่งห้อย
อวัยวะที่ทำให้เกิดแสงของหิ่งห้อย อยู่ด้านใต้ของปล้องท้อง สองปล้องสุดท้ายในตัวผู้ และ สามปล้องสุดท้ายในตัวเมีย ภายในปล้องมีเชลล์ขนาดใหญ่เรียกว่า โฟโตไรด์ ( photocytes ) อยู่จำนวน 7000-8000 เชลล์เรียงกันอยู่เป็นกลุ่มรูปทรงกระบอก หลายกลุ่มภายใต้ผนังลำไส้ใส เซลล์โฟโตไซต์จะเป็นที่ทำให้เกิดแสง มีท่ออากาศและเส้นประสาท เข้าไปหล่อเลี้ยงจำนวนมาก ถัดเข้าไป ภายในเป็นชั้นของผลึกพวกสาร ยูเรต ขนาดเล็กละเอียด ทำหน้าที่เป็นตัวสะท้อนแสง การให้กำเนิดแสงเป็นผลจากปฏิกิริยาชีวเคมีภายในเชลล์ มีการผลิตแสง โดยการไม่ใช้พลังงานความร้อน ภายใต้การควบคุมงานของ สารที่เรียกว่า เอ็นไซม์ มีผลสำคัญคือ การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารในเชลล์ และการหมุนเวียนพลังงาน เอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องคือ ลูซิเฟอรัส จะทำปฏิกิริยาเปลี่ยนแปลงสาร ลูซิเฟอริน ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยา ที่ต้องการแก๊ซออกซิเจน ไปทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแบบปฏิกิริยาการเผาไหม้ภายในเชลล์ อวัยวะที่ทำให้เกิดแสงของหิ่งห้อย อยู่ด้านใต้ของปล้องท้องสองปล้องสุดท้ายในตัวผู้ และ สามปล้องสุดท้ายในตัวเมีย ภายในปล้องมีเชลล์ขนาดใหญ่เรียกว่า โฟโตไรด์ ( photocytes ) อยู่จำนวน 7000-8000 เชลล์เรียงกันอยู่เป็นกลุ่มรูปทรงกระบอกหลายกลุ่มภายใต้ผนังลำไส้ใส เซลล์โฟโตไซต์จะเป็นที่ทำให้เกิดแสง มีท่ออากาศและเส้นประสาท เข้าไปหล่อเลี้ยงจำนวนมาก ถัดเข้าไปภายในเป็นชั้นของผลึกพวกสาร ยูเรต ขนาดเล็กละเอียด ทำหน้าที่เป็นตัวสะท้อนแสง การให้กำเนิดแสงเป็นผลจากปฏิกิริยาชีวเคมีภายในเชลล์ มีการผลิตแสงโดยการไม่ใช้พลังงานความร้อน ภายใต้การควบคุมงานของ สารที่เรียกว่าเอ็นไซม์ มีผลสำคัญคือ การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารในเชลล์ และการหมุนเวียนพลังงาน เอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องคือ ลูซิเฟอรัส จะทำปฏิกิริยาเปลี่ยนแปลงสาร ลูซิเฟอริน ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาที่ต้องการแก๊ซออกซิเจน ไปทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแบบปฏิกิริยาการเผาไหม้ภายในเชลล์