• Facebook
  • Twitter
ace2014

ความท้าทายในการพัฒนาเครื่องมือแพทย์ไทยสู่การใช้งานจริง

Read 304 times
Rate this item
(0 votes)

บทสรุปการสัมมนา

สืบเนื่องจากแนวโน้มการขยายตัวทางการตลาดของอุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์ของประเทศไทยที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 9 ต่อปี ประกอบกับ ปัจจุบันมีนักวิจัยไทยที่มีศักยภาพที่จะพัฒนาเครื่องมือแพทย์อยู่เป็นจำนวนมาก ดังจะเห็นได้จากตัวอย่างของ DentiScan และเครื่องช่วยฟัง ที่ได้มีการพัฒนาและผลักดันเพื่อนำไปใช้ได้จริง จึงเป็นโอกาสที่จะส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาและผลิตเครื่องมือแพทย์ขึ้นได้เองภายในประเทศไทย โดยควรจะเริ่มต้นจากการพัฒนาองค์รู้พื้นฐานให้เกิดขึ้นและนำไปสู่การพัฒนาในระดับที่สูงขึ้น อย่างไรก็ตาม ควรมีการกำหนดเป็นกรอบนโยบายที่ชัดเจนที่พร้อมส่งเสริมให้เกิดเป็นห่วงโซ่คุณค่ากับทุกภาคส่วนอย่างเป็นระบบครบทุกกระบวนการ

๑๓.๐๐-๑๓.๓๐ น. ลงทะเบียน
๑๓.๓๐-๑๓.๔๐ น. กล่าวเปิดงาน โดย
ศาสตราจารย์ ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์
ที่ปรึกษาอาวุโส สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ
๑๓.๓๐-๑๕.๐๐ น. การเสวนา ความท้าทายในการพัฒนาเครื่องมือแพทย์ไทยสู่การใช้งานจริง
 

ผู้ร่วมเสวนา
ผศ.ทันตแพทย์สุกิจ เกษรศรี pdf1
ภาควิชาศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คุณตราทัศ อาพัทธนานนท์ pdf1
กรรมการผู้จัดการบริษัท คัสตอมไมซ์ เทคโนโลยี จำกัด (CTEC)
คุณอรจิตต์ บำรุงสกุลสวัสดิ์ pdf1
ผู้อำนวยการแผนงานสนับสนุนระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
เภสัชกรปรีชา พันธุ์ติเวช pdf1
นายกสมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีเครื่องมือแพทย์ไทย (THAIMED)
ดำเนินการเสวนา
ดร.พศิน อิศรเสนา ณ อยุธยา
ผู้อำนวยการหน่วยพัฒนาอิเล็กทรอนิกส์และระบบทางชีวการแพทย์
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
ดร.เสาวภาคย์ ธงวิจิตรมณี
หัวหน้าห้องปฏิบัติการวิจัยเอกซเรย์ซีทีและการสร้างภาพทางการแพทย์
หน่วยพัฒนาอิเล็กทรอนิกส์และระบบทางชีวการแพทย์
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

๑๕.๐๐-๑๕.๑๐ น. ถาม-ตอบ และร่วมแสดงความคิดเห็น
๑๕.๑๐-๑๕.๓๐ น. พักรับประทานอาหารว่าง

HomeDownloadความท้าทายในการพัฒนาเครื่องมือแพทย์ไทยสู่การใช้งานจริง Top of Page