|
|
|
|
|
|
|
|
1. อาหารที่ผีเสื้อกินเข้าไปเมื่อยังเป็นตัวหนอนอยู่
|
|
สารที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสีของเกล็ดปีก
ได้แก่ เทอรีน ฟลาโวน และเมลานิน ซึ่งสารเมลานินนี้ก็มีอยู่ในคนละสัตว์ทั่วไปด้วย
( โดยสารเหล่านี้จะมีเฉพาะผีเสื้อที่เกล็ดปีกมีเม็ดสีเท่านั้น ) |
|
2. ลำแสงที่มาตกกระทบกับปีกของผีเสื้อ
|
|
ปัจจัยนี้จะทำให้เราเห็นสีของปีกผีเสื้อเป็นสีที่มีความแตกต่างกัน
เนื่องจากการดูดซับแสงของเกล็ดปีกผีเสื้อ และแสงที่มาตกกระทบกับเกล็ดปีกของผีเสื้อซึ่งมีพื้นผิวที่แตกต่างกัน
ทำให้แสงที่มาตกกระทบสะท้อนออกไปไม่เท่ากัน เป็นผลให้สีของปีกผีเสื้อที่เราเห็นนั้นต่างกันด้วย
|
|
3. ฤดูกาลที่เปลี่ยนไป
|
|
ในฤดูใบไม้ผลิสีปีกของผีเสื้อก็จะมีสีเข้มขึ้น
เพื่อที่จะทำให้ผีเสื้ออบอุ่นได้เร็วขึ้น ส่วนในฤดูร้อนสีก็จะจางลง และถ้าสภาพอากาศร้อนจัด
ผีเสื้อก็จะมีแถบปีกที่ใหญ่ขึ้นเพื่อช่วยในการพรางตัว ส่วนในฤดูแล้งผีเสื้อก็จะทำตัวให้กลมกลืนกับสภาพแวดล้อมเพื่อหลบลี้จากผู้ล่า |
|
|
|
|
|