ความหมายของเซต | การเขียนเซต
ลักษณะของเชต | ความสัมพันธ์ของเซต
| สับเซต | เพาเวอร์เซต
| เอกภพสัมพัทธ์ | แผนภาพของเวนน์-ออยเลอร์
| ปฏิบัติการระหว่างเซต | สัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้องกับจำนวนต่าง ๆ ที่ควรทราบ
| |
1. เซตที่เท่ากัน (Equal Sets) | คือ เซตสองเซตจะเท่ากันก็ต่อเมื่อเซตทั้งสองมีสมาชิกเหมือนกัน สัญลักษณ์ เซต A เท่ากับ เซต B แทนด้วย A = B เซต A ไม่เท่ากับ เซต B แทนด้วย A B |
A = {1, 2, 3, 4, 5} B = {1, 2, 3, 4, 3, 2, 5, 5, 5} | เซต A มีสมาชิกเหมือนกับเซต B | A = B
C = {a, e, i, o, u} | D = {i, o, u, e, o} เซต C มีสมาชิกเหมือนกับเซต D | C = D
| E = {0, 1, 3, 5} | F = {x | x I+, x < 6} เซต E มีสมาชิก 4 ตัว คือ 0, 1, 3, 5 แต่เซต F มีสมาชิก 5 ตัว คือ 1, 2, 3, 4, 5 | E F
| G = {สีแดง, สีน้ำเงิน, สีขาว} | H = {สีแดง, สีน้ำเงิน, สีเหลือง} สีขาว G แต่ สีขาว H | G H
| |
2. เซตที่เทียบเท่ากัน (Equivalentl Sets) | คือ เซตที่มีจำนวนสมาชิกเท่ากัน และสมาชิกของเซตจับคู่กันได้พอดีแบบหนึ่งต่อหนึ่ง สัญลักษณ์ เซต A เทียบเท่ากับ เซต B แทนด้วย A B |
A = {a, b, c, d, e} B = {1, 2, 3, 4, 5} | A B แต่เซตทั้งสองมีจำนวนสมาชิกเท่ากัน และสามารถจับคู่แบบ 1:1 ได้พอดี | A B |
C = {x | x I+} D = {x | x = 2n , n = 1, 2, 3, ...} | C เป็นเซตจำนวนเต็มบวก {1, 2, 3, ...} ส่วนเซต D เป็นเซตของจำนวนคู่ตั้งแต่ 2 ขึ้นไป {2, 4, 6, ...} โดยสมาชิกของเซต C กับ D จับคู่แบบ 1:1 ได้พอดี | C D |
หมายเหตุ | 1. ถ้า A = B แล้ว A B 2. ถ้า A B แล้ว ไม่อาจสรุปได้ว่า A = B |