ข้อมูลสำหรับผู้บริจาค ค้นหาคนหาย ผู้บาดเจ็บ ผู้เสียชีวิต ฯลฯ ข้อมูลสำคัญที่เกี่ยวข้อง -
ภาษาไทย
o ศูนย์รับข้อมูลกลางเกี่ยวกับผู้สูญหาย (เนคเทค) missingpersons.or.th
[Thai/English]
o ศูนย์ข้อมูลกลาง สึนามิในประเทศไทย (กระทรวง ICT) thaitsunami.com
o กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย www.disaster.go.th
Useful Related Sites - English
o Government's "Official" Tsunami and Disaster Center thaitsunami.com
o Central registration system for missing persons missingpersons.or.th
o Tsunami Central Resource Directory www.onethailand.com. [English]
o Thailand Tsunami Relief
Information (Internet Thailand) [English]
o I am Alive Alliance [ English and Japanese] - Tell us
that you are ok. |
แผ่นดินไหวที่มีระดับความแรงกว่า 8.0 ตั้งแต่ปี 1990
Death toll - Asian Tsunami of Dec 26, 2004Indonesia: 230,261 The figures include 132,197 listed as missing in Indonesia and 5,669 in India. In addition, 3,109 people are listed as missing in Thailand and 5,637 in Sri Lanka but not included in the toll because of likely double counting.
แผนการจัดตั้งระบบเตือนภัยของสหรัฐอเมริกาจากผลของภัยพิบัติเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ซึ่งแผ่นดินไหวความแรงระดับ 9.0 ริคเตอร์ ที่บริเวณตะวันตก ของเกาะสุมาตราเหนือ ซึ่งเป็นเหตุของการมีคลื่นยักษ์ ซัดเข้าสู่ฝั่ง ทำลายชีวิตและทรัพย์สินไปกว่า 157,000 คน นับว่าเป็นภัยพิบัติที่ใหญ่ที่สุดแห่งปี และเป็นแผ่นดินไหวที่ใหญ่สุดในรอบ 40 ปี และเป็นที่มาของการเตรียมการจัดตั้งระบบเตือนภัย เพื่อให้ประชาชนทั่วทั้งแถบมหาสมุทรอินเดียได้ทราบล่วงหน้า เพราะยังไม่เคยมีการเตรียมการมาก่อน เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2548 รัฐบาลสหรัฐอเมริกา ได้ประกาศ แผนการจัดทำระบบเตือนภัยสึนามิ ของประเทศสหรัฐอเมริกาขึ้น เตรียมขอเงินงบประมาณ 37.5 ล้านเหรียญสหรัฐจากรัฐสภา ระบบนี้ ครอบคลุมสองด้านของประเทศ คือบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกและแอตแลนติก จะเริ่มใช้งานได้ ตั้งแต่กลางปี 2550 แผนดังกล่าว ถือว่า เป็นการขยายเครือข่ายการตรวจวัด และเตือนภัย ในแปซิฟิกขึ้นสี่เท่าตัว และเป็นการจัดทำระบบเตือนภัย ที่คล้ายกัน ในมหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลแคริบเบียน และ บริเวณชายฝั่งด้านอ่าวเม็กซิโก อ่านต่อ... รวมรายงานการประเมินสถานการณ์สึนามิ โดยผู้เชี่ยวชาญจากหลายแหล่งใหม่ (วันที่ 17 มกราคม 2548) เชิญอ่าน รวมรายงานการประเมินสถานการณ์สึนามิ โดยผู้เชี่ยวชาญจากหลายแหล่ง เขียนโดย ทวีศักดิ์ กออนันตกูล
กลับไปบนสุด
|