หนึ่งศตวรรษของเอกซเรย
W.C. Rontgen เกิดเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2388 ที่เมือง Lennep ในประเทศเยอรมนี บิดามีอาชีพ เปšนพ‹อคŒาขายผŒา เมื่อมีอายุไดŒ 3 ขวบ ครอบครัวไดŒอพยพไปอาศัยอยู‹ในประเทศเนเธอรแลนด เขาใชŒชีวิตวัยเด็ก ในธรรมชาติของป†าและภูเขา จากการมีนิสัยชอบสรŒางอุปกรณและของเล‹นต‹างๆ ดŒวยตนเอง จึงไดŒเขŒาศึกษา ฟสิกสที่มหาวิทยาลัย Utrecht เขาจบการศึกษาระดับปริญญาตรีเอกที่มหาวิทยาลัย Zurich เมื่อเขามีอายุไดŒ 24 ป‚ จากนั้นก็ไดŒเขŒามาทํ างานเปšนอาจารยที่มหาวิทยาลัย Wurzburg ในประเทศเยอรมนี
และวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2538 นี้เอง มหาวิทยาลัย Wurzburg ไดŒจัดงานเฉลิมฉลองวาระการครบ รอบ 100 ป‚ ของการคŒนพบเอกซเรยโดย Rontgen
เขาพบเอกซเรยขณะศึกษาการนําไฟฟ‡าในแกส ที่มีความหนาแน‹นนŒอย เขาพบว‹าถึงแมŒเขาจะหุŒมหลอด ทดลองใหŒมิดชิดสักปานใดก็ตาม แผ‹นแกŒวที่มีสาร barium platinocyanide ฉาบอยู‹ ถึงแมŒว‹าจะวางห‹างจาก หลอดทดลอง 2 เมตร ก็ยังเรืองแสง และเมื่อเขาเอามือของภรรยาวางลงบนแผ‹นฟลมถ‹ายรูป แลŒวปล†อยใหŒรังสี ปริศนาผ‹านภาพที่ปรากฏต‹อสายตาเมื่อเขาเอาฟลมไปล‡าง เปšนภาพของกระดูกมือและแหวนที่ภรรยาของเขา สวมอยู‹
Rontgen ไดŒเสนอผลการคŒนพบของเขาเปšนครั้งแรกในที่ประชุมสมาคมวิทยาศาสตรของนคร Wurzburg เมื่อผลงานชิ้นนี้ไดŒรับการแปลลงในวารสาร Nature ฉบับเดือนมกราคม พ.ศ. 2439 โลกก็เริ่มรูŒจักเอกซเรย ใน งานวิจัยนั้น Rontgen ไดŒแสดงใหŒเห็นว‹า รังสีปริศนาที่เขาพบมีคุณสมบัติแตกต‹างจากรังสีชนิดอื่นๆ ทุกชนิดที่ คนในสมัยนั้นรูŒจัก คือมันไม‹หักเห ไม‹สะทŒอนและไม‹แทรกสอดใดๆ ธรรมชาติที่แทŒจริงของเอกซเรยเริ่มถูกเปด เผยเมื่อ M. Von Laue ไดŒพิสูจนโดยการทดลองใหŒทุกคนเห็นว‹าเอกซเรยและแสงที่เราเห็นนั้นมีธรรมชาติเดียวกัน เพียงแต‹เอกซเรยมีความยาวคลื่นสั้นกว‹าแสงทั่วไปมาก การมีความยาวคลื่นที่สั้นมากนี้เอง ทํ าใหŒ Rontgen ไม‹ เห็นปรากฏการณหักเห ส‹วนการที่เขาไม‹เห็นปรากฏการณแทรกสอดนั้น เพราะตŒนกํ าเนิดเอกซเรยที่เขาใชŒใหŒแสง เอกซเรยความยาวคลื่นต‹างๆ กันมากมาย
ความเปšนอัจฉริยะของ Rontgen ทํ าใหŒเขารูŒโดยทันทีทันใดว‹า เขาสามารถใชŒผลการคŒนพบของเขาตรวจ ดูกระดูกภายในร‹างกายไดŒ ดังนั้นภายในเวลาเพียง 3 เดือนหลังจากการคŒนพบ โรงพยาบาลต‹างๆ ในยุโรปและ อเมริกาก็ไดŒใชŒเอกซเรยวิเคราะหกระดูกและขŒอต‹อของคนไขŒที่ไดŒรับบาดเจ็บต‹างๆ มากมาย
ผลการคŒนพบนี้ทําใหŒ Rontgen ไดŒรับรางวัลโนเบลสาขาฟสิกสเปšนคนแรกในป‚ พ.ศ. 2444 รางวัลโนเบล รางวัลที่สองที่ไดŒ มอบใหŒแก‹ผลงานดŒานเอกซเรยคือ ผลงานการถ‹ายภาพ CT scanning ดŒวยวิธี Computerized X-Ray Tomograhpy โดย G. Hounsfield ในป‚ พ.ศ. 2522
เอกซเรยไดŒช‹วยชีวิตมนุษยมานับจํานวนไม‹ถŒวน ในประเทศอังกฤษในแต‹ละป‚มีการถ‹ายภาพดŒวยเอกซเรย 23 ลŒานครั้ง กระบวนการ CT scan, ultrasound, MRI, radionuclide dectectors ใชŒฟลมต‹างๆ ที่ไดŒรับการ ประดิษฐใหŒไวต‹อแสงเอกซเรยทั้งสิ้น การวิจัยดŒานนี้กํ าลังไปในทิศทางที่ว‹าจะทําใหŒภาพที่ถ‹ายดŒวยเอกซเรยมีคุณ ภาพดีขึ้นไดŒอย‹างไร และเราจะลดปริมาณสะสมของเอกซเรยในร‹างกายไดŒอย‹างไร
เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2538 ไดŒมีการประชุม Rontgen Centenary Congress ที่เมือง Birmingham ใน ประเทศอังกฤษ ที่ประชุมไดŒกล‹าวถึงความกŒาวหนŒาในการใชŒเอกซเรยในการวิเคราะหพันธุกรรมของโรค การ ตรวจคนไขŒระยะไกล (teleradiology) โดยใชŒคอมพิวเตอร ซึ่งจะทํ าใหŒศัลยแพทยสามารถเห็นคนไขŒและภาพ เอกซเรยของคนไขŒคนนั้นไดŒพรŒอมกันขณะอยู‹ไกลกัน
หนึ่งศตวรรษของการคŒนพบ และหกรอบแห‹งการจากไปของ Rontgen โลกไม‹ลืมนักวิทยาศาสตร คุณภาพผูŒนี้

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)