ชาว Sumerian ซึ่งเคยมีชีวิตอยูในเอเชียตะวันตกแถบ Mesopotamia เมื่อประมาณ 5,000 ปกอนนี้อาจจะ
เปนชนกลุมแรกที่ไดศึกษาดาวเสาร โดยไดเรียกชื่อดาวดวงนี้วา Seg-Usk ในเวลาตอมาชาว Babylon เมื่อได
สังเกตเห็นวา ดาวเสารเคลื่อนที่ชามากจึงไดเรียกมันวา Kaimanu ซึ่งแปลวา ดาวที่เชื่องชา สวนคนกรีกเรียกดาว
เสารวา Cronus ตามชื่อของเทพเจาในตํ านานกรีกซึ่งได
สมรสกับนองสาวของตนเอง
การศึกษาดาวเสารไดเริ่มอยางเปนระบบในป พ.ศ. 683 เมื่อนักดาราศาสตรชาติกรีกชื่อ Ptolemy
ไดสังเกตุเห็นวาในบางครั้งดาวเสารโคจรนําดาวพฤหัสบดี แตในบางครั้งมันโคจรตาม เขาจึงตั้งสมมติฐานวา
การที่เราเห็นเชนนี้เพราะดาวเสารอยูหางจากโลกมากกวาดาวพฤหัสบดี และอยูไกลมากถึงขอบสวรรค
โดยไมมีดาวดวงใดอยูไกลกวาเลย และเมื่อ Galileo ไดใชกลองโทรทรรศนสองดูดาวเสารในอีก 1,400 ปตอมาเขาไดรูสึกประหลาดใจมากเมื่อเห็นวาดาวเสาร
มิไดมีลักษณะกลม เชน ดาวเคราะหดวง
อื่นๆ กลองโทรทรรศนที่มีประสิทธิภาพตํ่าของเขา
ทํ าใหเขาเห็นมีบริเวณเสนศูนยสูตรของดาวเสารโคงนูน Galileo
คิดวาสวนที่โคงนูนนั้นคือ ดวงจันทรของดาวเสาร และเมื่อเขายอนกลับไปสังเกตดูดาวเสารในเวลาตอมา
เขากลับเห็นดาวเสารมีลักษณะกลมเหมือนดาวเคราะหอื่นๆ ทั่วไป Galileo ไมสามารถอธิบายเหตุการณที่เขาเห็นไดเลย
จนกระทั่ง C. Huygens ชาวเนเธอรแลนดไดอธิบายวา สวนโคงนูนที่สวางของดาวเสารคือ วงแหวนที่ลอมรอบ
ดาวเสาร ดังนั้นเวลาวงแหวนวางตัวเอียงทํ ามุมตางๆ กับสายตา เราจะเห็นมันมีรูปรางตางๆ เชน เวลาวงแหวน
หันขอบใหอยูในระดับสายตาเราก็จะไมเห็นวงแหวน แตหากวงแหวนเอียง
ทำมุมกับสายตาเราจะเห็นแหวนเปนแถบใหญ Huygens ยังเปนมนุษยคนแรกที่ไดเห็นดวงจันทรของดาวเสารอีกดวย ดวงจันทรดวงนี้ในเวลาตอมา ไดรับการตั้งชื่อวา Titan นอกจากนักดาราศาสตรทั้งสองแลวยังมีนักดาราศาสตรอีกทานหนึ่งที่มีบทบาทมากในการ
ศึกษาดาวเสารในระยะแรก ทานผูนี้คือ J.D. Cassini ทานไดพบดวงจันทรของดาวเสารอีก 4 ดวงคือ Lapetus,
Rhea, Dione และ Tellhys แตชื่อ Cassini ที่โลกรูจักดีในทุกวันนี้เปนชื่อของชองวาง
ระหวางวงแหวนที่ลอม