CASSINI
เยือนดาวเสาร และ Huygens ลงบน Titan

ในอดีตที่ผ‹านมา เรายังไม‹เคยส‹งยานอวกาศไป สํ ารวจดาวเสารและดวงจันทรของมันอย‹างใกลŒชิด และ สํารวจเปšนเวลานานเลย ดังนั้นเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2540 สหรัฐฯ ไดŒส‹งจรวด Titan นํ ายาน Cassini มุ‹งสู‹ดาวเสาร
ยานอวกาศราคาหนึ่งแสนหŒาหมื่นลŒานบาท ที่หนัก 6.25 ตัน และมีความสูงเท‹ากับตึก 2 ชั้น บรรทุกอุปกรณ วิทยาศาสตร 18 ชิ้น กำหนดจะเดินทางไกล 30,000 ลŒานกิโลเมตร ถึงดาวเสารในวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 ความแม‹นยําในการยิงจรวดครั้งนี้ เปรียบเสมือนกับการยิงลูกบิลเลียดใหŒลงหลุมที่อยู‹ไกล 3,000 กิโลเมตรพอดี เมื่อยาน Cassini ถึงดาวเสาร ซึ่งถูกห‹อหุŒมดŒวยเมฆสีเหลือง ฟ‡า และนํ้ าเงินแกมเขียว ตลอดเวลามันจะถูกบังคับ ใหŒโคจรรอบดาวเสาร เพื่อศึกษาบรรยากาศที่ห‹อหุŒมดาวและปรากฏการณฟ‡าแลบ ฟ‡ารŒองเหนือ ดาวรวมทั้งถ‹าย ภาพพื้นผิวดาวเสาร ตลอดจนดวงจันทรใหญ‹นŒอยของดาวดวงนี้ และเมื่อยานโคจรผ‹าน Titan ในวันที่ 6 พฤศจิกายน ยาน Cassini จะปล†อยยาน เล็กๆ ชื่อ Huygens ใหŒแยกตัวจากมัน เพื่อร‹อนลงสํ ารวจ Titan
Titan เปšนดวงจันทรบริวาร ที่มีขนาดใหญ‹ที่สุดของดาว เสาร และมีขนาดใหญ‹เปšน ที่สองของสุริยจักรวาล รอง จากดวงจันทร Ganymede ของดาวพฤหัสบดี มันมีเสŒนผ‹าศูนยกลาง 5,150 กิโลเมตร จึงนับว‹าใหญ‹กว‹า ดวงจันทรของโลก (3,476 กิโล เมตร) ใหญ‹กว‹าดาวพุธ (4,870 กิโลเมตร) และดาวพลูโต (2,300 กิโลเมตร) Titan โคจรห‹างจากดาวเสารประมาณ 1.2 ลŒานกิโลเมตร และห‹างจากดวงอาทิตยประมาณ 10 เท‹า ของ ระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย พลังงานที่มันไดŒรับจากดวงอาทิตยจึงคิดเปšน 1% ของ พลังงานที่โลกไดŒรับ ดังนั้น หากเราไปยืนบน Titan เราจะเห็นดวงอาทิตยสว‹างพอๆ กับที่เราเห็นดวงจันทรของโลกสว‹าง
ในป‚ พ.ศ. 2487 G.P. Kuiper ไดŒพบว‹าบรรยากาศของ Titan มีแก็ส methane ในปริมาณที่มากกว‹าที่ บรรยากาศโลกมีมาก ดังนั้นเวลาแสงอัลตราไวโอเลตกระทบ methane แกสจะแตกตัวปฏิกิริยาเคมีก็ที่เกิดขึ้นจะ ทําใหŒบรรยากาศของ Titan มีสารประกอบ hydrocabon มากมาย เช‹น propane, ethylene, ethane และ acetylene บรรยากาศเหนือดาวจึงอึมครึมตลอดเวลา แต‹หาก methane ถูกแสงอาทิตยทํ าลายอย‹างต‹อเนื่อง เช‹น นี้ แลŒวเหตุใดบรรยากาศของ Titan จึงมี methane หนาแน‹นดŒวย นักวิทยาศาสตรบางคนคิดว‹าการที่เปšนเช‹นนี้ เพราะบน Titan มีทะเล methane และทะเลทํ าหนŒาที่เปšนแหล‹งระเหยและรับ methane สู‹และจากบรรยากาศ เหนือดาวตลอดเวลา
เพื่อจะตัดสินใจใหŒรูŒแน‹ชัดว‹าบน Titan มีความเปšนอยู‹อย‹างไร ยาน Huygens จะถูกกำหนดใหŒ ร‹อนลงบน Titan โดยขณะที่ยานอยู‹เหนือผิว Titan ที่ระดับสูง 170 กิโลเมตร และมีความเร็ว 6 กิโลเมตร/วินาที ยานจะถูก บังคับใหŒพุ‹งลงสู‹ บรรยากาศของ Titan เมื่อความเร็วลดลงเหลือ 500 เมตร/วินาที ร‹มชูชีพที่ติดอยู‹กับยานจะกาง ออก อุปกรณวิทยาศาสตรต‹างๆ บนยานจะเริ่มวัดอุณหภูมิ และวิเคราะหองคประกอบต‹างๆ ของบรรยากาศ กลŒองถ‹ายภาพจะทําหนŒาที่ถ‹ายภาพผิวของ Titan เพื่อส‹งกลับมาใหŒโลกรูŒว‹าผิวเปšนทะเล หรือ เปšนหินแข็ง สัญญาณวิทยุที่เคลื่อนดŒวยความเร็วแสงจะใชŒเวลานาน 85 นาที จึงจะถึงโลก และเราก็รูŒว‹าดินแดนโพŒนฟ้า ดินแดนนี้มีสารอินทรียหรือสิ่งมีชีวิตหรือไม‹
เมื่อ 500 ป‚ก‹อนโนŒน Columbus ไดŒกลับมารายงาน “ภาพ” ของโลกใหม‹ โดยไม‹มีภาพถ‹ายใดๆ แต‹ในอีก 7 ป‚ Huygens จะรายงานภาพของโลกใหม‹ ใหŒเรารูŒโดยมีภาพถ‹ายสีประกอบ คำอธิบายชัดเจนครับ

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)