คือ ปรากฏการณ์
ที่
สาร
มี
สูตร
โมเลกุล
เหมือน
กัน แต่
มี
สูตร
โครง
สร้าง
ต่าง
กัน
ไอ
โซเมอร์ (Isomer)
คือ สาร
ที่
มี
สูตร
โมเลกุล
เหมือน
กัน แต่
มี
สูตร
โครง
สร้าง
ต่าง
การ เช่น
C
4
H
10
CH
3
CH
2
CH
2
CH
3
สาร
ที่
เป็น
ไอ
โซเมอร์กัน ถ้า
มี
หมู่
ฟังก์ชัน
เหมือน ก็
พบ
ว่า
มี
สมบัติ
ทางกายภาพ
ต่าง
กัน แต่
สมบัติ ทางเคมี
เหมือน
กัน
สาร
ที่
เป็น
ไอ
โซเมอร์กัน ถ้า
มี
หมู่
ฟังก์ชัน
ต่าง
กัน
อีก
จะ
พบ
ว่า
มี
สมบัติ
ทางกายภาพ และ
สมบัติ
ทางเคมี
ต่าง
กัน
ไอ
โซเมอร์ของ
สาร
อินทรีย์ใด
ที่
คาร์บอน
ต่อ
กัน
เป็น
โซ่
สาย
ยาว จะ
มี
จุด
เดือด จุด
หลอม
เหลว และ
ความ
หนา
แน่น
สูง
กว่า
ไอ
โซเมอร์ของ
สาร
อินทรีย์ที่
มี
คาร์บอน
ต่อ
กัน
แตกกิ่งก้าน
สาขา เพราะ
ไอ
โซเมอร์ที่
คาร์บอน
ต่อ
กัน
เป็น
โซ่
สาย
ยาว
จะ
มี
ขนาด
ใหญ่ และ
มี
พื้น
ที่
ผิว
มาก
กว่า ทำ
ให้
เกิด
แรง
ดึง
ดูด
ระหว่าง
โมเลกุล คือ
แรงแวนเดอร์วาลส์สูง
กว่า
ไอ
โซเมอร์ที่
คาร์บอน
ต่อ
กัน
มีกิ่งก้าน
สาขา เช่น
C
4
H
10
CH
3
CH
2
CH
2
CH
3
bp = -0.5 C
mp = -138.3 C
d = 0.6012 g/cm3
bp = -12 C
mp = -159 C
d = 0.603 g/cm3
หลัก
การ
เขียน
ไอ
โซเมอร์
สาร
อินทรีย์ที่
มี
คาร์บอน
อะตอม
ประมาณ 3 - 4 อะตอม
ขึ้น
ไป
สามารถ
เกิด
ไอ
โซเมอร์ที่
มี
โครง
สร้าง แบบ
ต่าง ๆ กัน และ
ถ้า
คาร์บอน
อะตอม
มาก
ขึ้น ก็
จะ
มี
จำนวน
ไอ
โซเมอร์เพิ่ม
ขึ้น แต่
จะ
มี
จำนวน
เท่า
ไร ไม่
มี
สูตร
ที่
จะ
ใช้
ใน
การ
คำนวณ
ที่
แน่
นอน และ
จะ
ทราบ
จำนวน
ไอ
โซเมอร์ของ
สาร
อินทรีย์ได้
ต้อง
เขียน
และ
พิจารณา
เอง การ
เขียน
ไอ
โซเมอร์ต้อง
เริ่ม
จาก
ไอ
โซเมอร์ที่
มี
คาร์บอน
ต่อ
กัน
เป็น
สาย
ยาว
ที่
สุด
ก่อน แล้ว
จึง
ลด
จำนวน
คาร์บอน
อะตอม
ที
ละ
อะตอม
ลง
ใน
สาย
ยาว
ของ
คาร์บอน
ที่
ต่อ
กัน โดย
นำ
มา
ต่อ
เป็น
สาขา
ที่
ตำแหน่ง
ต่าง ๆ ขณะ
เดียว
กัน
ต้อง
ระวังพิเจารณาว่า
รูป
ร่าง
โครง
สร้าง
ที่
เขียน ซ้ำ
หรือ
ไม่ การ
เขียน
ก็
ให้
เขียน
เฉพาะ คาร์บอน
อะตอม
ก่อน
แล้ว
จึง
เติม
ไฮโดรเจน
ที่