ความหมาย แอลกอฮอล์(R - OH) กรดอินทรีย์(R - COOH)
สารอินทรีย์ที่มีหมู่ OH
กับหมู่ไฮโดรคาร์บอน
สารอินทรีย์ที่มีหมู่ COOH
กับหมู่ไฮโดรคาร์บอน
สูตรทั่วไป CnH2n+2O CnH2nO2
การอ่านชื่อ พยางค์หน้าบอกจำนวน C อะตอม
พยางค์หลังบอกแอลกอฮอล์ ลงท้ายด้วย "ol"
CH3OH Methanol
CH2CH2OH Ethanol
พยางค์หน้าบอกจำนวน C อะตอม
พยางค์หลังบอกกรดอินทรีย์
ลงท้ายด้วย "oic acid"
CH3COOH Ethanoic acid
CH3CH2CH2COOH Butanoic acid
สมบัติ
1.สถานะ
ของแข็ง ของเหลว,ของแข็ง
2.การละลายน้ำ โมเลกุลเล็กละลายน้ำดี C1-C3โมเลกุลที่มี C มากขึ้น การละลายน้ำลดลง ไม่ละลายในที่สุด โมเลกุลเล็กละลายน้ำดี C1-C3โมเลกุลที่มี C มากขึ้น ละลายน้ำลดลง ถ้า C มากๆ ไม่ละลายน้ำ
กรดอินทรีย์ละลายน้ำได้ดีกว่าแอลกอฮอล์ที่มี C เท่ากัน
3.แรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างโมเลกุล
พันธะไฮโดรเจนและแรงแวนเดอร์วาลส์
R - O ---

โมเลกุลเกิดพันธะไฮโดรเจน 3 แห่ง
พันธะไฮโดรเจนและแรงแวนเดอร์วาลส์

โมเลกุลเกิดพันธะไฮโดรเจน 5 แห่ง
4.ความเป็นกรด-เบส (กรด-เบส) แต่มีความเป็นกรดมากกว่าความเป็นเบส ภาวะปกติแอลกอฮอล์ไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส กรดเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากน้ำเงินเป็นแดง
5.จุดเดือด(C ํ)
ซึ่งมวลโมเลกุล
ใกล้เคียงกัน
สูงปานกลาง สูงมาก
จุดเดือดของสาร
พวกเดียวกันเอง
เพิ่มขึ้นตามจำนวน C อะตอมที่เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นตามจำนวน C อะตอมที่เพิ่มขึ้น
6.ความหนาแน่น น้อยกว่าน้ำเฉพาะโมเลกุลเล็ก มากกว่าน้ำส่วนใหญ่
7.ทำปฏิกิริยากับ
(หมู่ IA)
(M = โลหะใดๆ ยกเว้นโลหะมีตระกูล)
ได้เร็ว เกิดก๊าซ H2
8.กลิ่น กลิ่นเฉพาะตัว(กลิ่นเหล้า) กลิ่นฉุน
9.ทำปฏิกิริยากับ
NaHCO3
ไม่ทำ
10.ทำปฏิกิริยากับ
แอลกอฮอล์
ไม่ทำ ทำให้เกิดเอสเทอร์
(ต้องมีตัวเร่งปฏิกิริยา H2SO4(conc))
11.ทำปฏิกิริยากับ
กรดอินทรีย์
ทำให้เกิดเอสเทอร์ ไม่ทำ
12.จำนวนไอโซเมอร์ C 3 อะตอมขึ้นไป
เกิดไอโซเมอร์พวกเดียวกันเอง
C 4 อะตอมขึ้นไป
เกิดไอโซเมอร์พวกเดียวกันเอง
จำนวน C อะตอมเท่ากันแอลกอฮอล์จะเกิดไอโซเมอร์กันเองได้มากกว่ากรออินทรีย์




แหล่งอ้างอิง: เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชาเคมี ของโครงการส่งเสริมความสามารถพิเศษภาคฤดูร้อน Brands's Summer Camp'95 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์