ความ
เร็ว
และ
ความ
เร่ง
ของของการเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย
รูปที่ 1
ให้ v
o
เป็น
อัตรา
เร็ว
ของ P ที่
เคลื่อน
ที่
รอบ
วง
กลม อัตรา
เร็ว
ของ Q จะ
เท่ากับองค์
ประกอบ (component) ของ
ความ
เร็ว
ของ P ใน
แนว
ดิ่ง นั่น
คือ อัตรา
เร็ว
ของ Q หรือ
อัตรา
เร็ว
ของ
วัตถุ
ที่
เคลื่อน
ที่
แบบ SHM เป็น v
o
cos
หรือ v
o
cos2
ft นั่น
เอง
ถ้า P มี
ความ
เร็ว
เชิง
มุม
เป็น
เรเดียน
/วินาที และ
เพราะ
ว่า A เป็น
รัศมี
ของ
วง
กลม จาก
การ
ศึกษา
การ
เคลื่อน
ที่
เป็น
วง
กลม
จะ
ได้
ว่า
= v
o
/R หรือ v
o
=
R
ดัง
นั้น
อัตรา
เร็ว
ของ SHM = v
o
cos2
ft =
R cos2
ft
สำหรับ
อัตรา
เร่ง
นั้น เนื่อง
จาก P เคลื่อน
ที่
เป็น
วง
กลม จึง
มี
ทิศ
ของ
ความ
เร่ง
เข้า
สู่
ศูนย์
กลาง และ
ความ
เร่ง
ของ Q ก็
เป็น
องค์
ประกอบ
ใน
แนว
ดิ่ง
ของ
ความ
เร่ง
ของ P
รูปที่ 2
ถ้า a
o
เป็น
อัตรา
เร่ง
ของ P
a
o
sin
ก็
เป็น
อัตรา
เร่ง
ของ Q
เพราะ
ว่า P มี
ความ
เร็ว
เชิง
มุม
เป็น
เรเดียน
/วินาที และ
มี
รัศมี
เป็น A
จึง
ได้
ว่า a
o
= w
2
A
ดัง
นั้น อัตรา
เร่ง
ของ SHM = a
o
sin
= a
o
sin2
ft =
2
A sin2
ft
ค่า
ใน
การ
เคลื่อน
ที่
แบบ SHM เรียก
ว่า ความ
ถี่
เชิง
มุม (angular frequency) โดย
มี
ความ
สัมพันธ์กับความ
ถี่ (frequency) ดัง
นี้
= 2
f
ข้อ
สังเกต
เมื่อ
พิจารณา
ทิศ
ทางของ
ความ
เร็ว และ
ความ
เร่ง
ของ
วัตถุ
ที่
เคลื่อน
ที่
แบบ SHM แล้ว จะ
เห็น
ว่า
ปริมาณ
ทั้ง
สอง
มี
ทิศ
สวน
กัน
เสมอ ทั้ง
นี้
เพราะ
แรง
ที่
กระ
ทำ
ต่อ
วัตถุ
จะ
มี
ทิศ
ตรง
ข้ามกับการ
เคลื่อน
ที่
ของ
วัตถุ
เสมอ
ที่มา : นายณสรรค์ ผลโภค, นิตยสารเรียนดี ปี 2 ฉบับที่ 3.