มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (analog multimeter, AMM) เป็นเครื่องมือ
วัด
ปริมาณ
ทางไฟฟ้า
หลาย
ประเภท
รวม
อยู่
ในเครื่องเดียว
กัน โดย
ทั่วไป
แล้วมัลติมิเตอร์
จะ
สามารถ
ใช้
วัด
ปริมาณ
ต่อไปนี้
- ความต่างศักย์กระแสตรง (DC voltage)
- ความต่างศักย์กระแสสลับ (AC voltage)
- ปริมาณ
กระแสตรง (DC current)
- ความต้านทาน
ไฟฟ้า (electrical resistance)
อย่างไร
ก็ตาม
มัลติมิเตอร์
บาง
แบบ
สามารถ
ใช้
วัด
ปริมาณ
อื่น ๆ ได้
อีก เช่น กำลังออก
ของ
สัญญาณ
ความถี่เสียง (AF output) การขยาย
กระแสตรง
ของ
ทรานซิสเตอร์ (DC current amplification, h
FE
) กระแสรั่ว
ของ
ทรานซิสเตอร์ (leakage current, l
CEO
) ความจุ
ทางไฟฟ้า (capacitance) ฯลฯ
มัลติมิเตอร์
แบบเข็ม มี
ลักษณะ
ดังภาพ
ข้างล่าง
มัลติมิเตอร์แบบเข็ม
ส่วนประกอบสำคัญของมัลติมิเตอร์แบบเข็ม
ส่วน
ประกอบ
สำคัญ
ของมัลติมิเตอร์
แบบเข็ม
ข้างต้น (ซึ่ง
แสดง
หมายเลข
กำกับ
ไว้
แล้ว
ยกเว้น
หมายเลข 9 และ 10) ได้แก่
1. ที่
ปรับ
การชี้ศูนย์
(indicator zero corrector): ใช้
สำหรับ
การปรับ
ให้
เข็ม
ชี้ศูนย์
ขณะ
ยัง
ไม่ได้
ใช้
ทำ
การวัด
2. สวิตช์เลือก
ปริมาณ
ที่
จะ
วัด
และ
ระดับ
ขนาด
(range selector switch knob) : เป็นสวิตช์ที่
ผู้ใช้
จะ
ต้อง
บิด
เลือก
ว่า
จะ
ใช้เครื่องวัด
ปริมาณ
ใด ซึ่ง
มี
ทั้ง
หมด 4 ปริมาณ
แต่ละปริมาณ
มี
ช่วงการวัด
ให้
เลือก ดังนี้
ACV : 0-10V, 0-50 V, 0-250 V และ 0-1000 V (รวม 4 ช่วงการวัด)
DCV : 0-0.1 V, 0-0.5 V, 0-2.5 V, 0-10 V, 0-50 V, 0-250 V และ 0-1000 V (รวม 7 ช่วงการวัด)
DCA :0-50
A,0-2.5 mA,0-25mA,และ0-0.25 A (รวม 4 ช่วงการวัด)
Resistance (
) :
x 1
(อ่านได้ 0-2k
)
x 10
(อ่านได้ 0-20k
)
x 1k
(อ่านได้ 0-2000k หรือ 2 M
)
x 10k
(อ่านได้ 0-20 M
)( รวม 4 ช่วงการวัด)
3. ช่องเสียบ
สายวัด
ขั้วบวก
(measuring terminal +)
4. ช่องเสียบ
สายวัด
ขั้วลบ
(measuring terminal -COM)
5. ช่องเสียบ
สายวัด
ขั้วบวก
กรณี
วัด
กำลังออก
ของ
สัญญาณ
ความถี่เสียง
(output terminal)
6. ปุ่ม
ปรับแก้ศูนย์
โอห์ม
(0
adjust knob) : ใช้
เพื่อ
ปรับ
ให้
เข็มชี้ศูนย์
โอห์ม
เมื่อ
นำ
ปลาย
วัด
ทั้ง
คู่
มา
แตะ
กัน
ก่อน
ทำการวัด
ค่า
ความต้านทาน
ใน
แต่
ละ
ช่วงการวัด
7. แผงหน้าปัด
(panel)
8. เข็มชี้
(indicator pointer)
9. สายวัด
(test lead) : ประกอบ
ด้วย
สาย 2 เส้น สีแดง
สำหรับ
ขั้วบวก
และ
สีดำ
สำหรับ
ขั้วลบ
10. สเกล
การวัด
(reading scales) : ประกอบ
ด้วย 7 สเกล
การวัดเรียง
ลำดับ
จาก
บน
สุด
ลง
ล่าง
ดังนี้ (ดู
จากเครื่องวัด
ประกอบ
ด้วย)
สเกลการวัด
1. สเกลวัดความต้านทาน (
) ด้านล่าง
ของสเกล
นี้
มี
กระจกเงา
เพื่อ
ช่วย
แก้
ความคลาดเคลื่อน
ใน
การอ่าน
เนื่องจาก
แพรัลแลกซ์
2. สเกลวัดความต่างศักย์
กระแสตรง (DCV) และ
ปริมาณ
กระแสตรง (DCA) มี
สีดำ
3. สเกลวัดความต่างศักย์
กระแสสลับ (ACV) มี
สีแดง
4. สเกลวัดการขยายกระแสตรง
ของ
ทรานซิสเตอร์ (h
FE
) มี
สีน้ำเงิน
5. สเกลวัดกระแสรั่ว
ของ
ทรานซิสเตอร์ (LEAK, I
CEO
, Ll) มี
สีน้ำเงิน
6. สเกลวัดความต่างศักย์
ระหว่าง
ปลาย
ขณะ
วัด
ความต้านทาน (LV) มี
สีน้ำเงิน
7. สเกลวัดกำลังออก
ของ
สัญญาณ
ความถี่เสียง (dB) มี
สีแดง
ความไว
(sensitivity) ของเครื่องวัด
นี้
ระบุ
ไว้
ที่
ตอนล่าง
ด้านซ้าย
ของสเกล
การวัด เพื่อ
บ่ง
ให้
ทราบ
ค่า
กระแส
ที่
ผ่านเครื่องวัด
สำหรับ
การ
อ่าน
ค่าสเกล
การวัด
หนึ่ง ๆ โดย
บอก
ใน
รูป
โอห์ม
ต่อ
โวลต์ (ohm per volt) โดย
ทั่วไป
แล้ว เครื่องวัด
ที่
มี
ความไวสูง จะ
มี
ค่า
โอห์ม
ต่อ
โวลต์สูง
DC 20 k
/V
หมายความว่า ขณะ
ใช้การ
ที่วัด
ที่สเกล DCV เมื่อ
อ่าน
ค่า
ได้ 1 V
DC
ความต้านทาน
ภาย
ในเครื่องวัด
จะ
เป็น 20 k
ดังนั้น
กระแส
ที่
ผ่านเครื่องวัด
ขณะ
นี้
จะ
เป็น
AC 8 k
/V
หมายความ
ว่า ขณะ
ใช้
การวัด
ที่สเกล ACV เมื่อ
อ่าน
ค่า
การวัด
ได้ 1 V
AC
ความต้านทาน
ภายใน
เครื่องวัด