Guglielmo Marconi
Marie Sklodowska นักวิทยาศาสตรสตรีที่โลกรูŒจักดีที่สุด ถือกํ าเนิดที่กรุง Warsaw ในประเทศโปแลนดเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2410 บิดามารดาของเธอเปšนครูสอนวิทยาศาสตรในโรง เรียนมัธยม เพื่อการมีชีวิตที่มีคุณภาพเธอไดŒเดินทางออกจากโปแลนด ซึ่งขณะนั้นตกอยู‹ ภายใตŒการปกครองของรัสเซียไปศึกษาต‹อที่มหาวิทยาลัย Sorbonne ในประเทศฝรั่งเศส ณ ที่นั่นเธอไดŒพบนักฟสิกสหนุ‹มชื่อ Pierre Curie และไดŒเขŒาพิธีสมรสเมื่อ Marie มีอายุไดŒ 28 ป‚ต‹อมา เมื่อ Pieerre ประสบอุบัติเหตุถูกรถมŒาชนจนถึงแก‹ชีวิต Marie ไดŒรับตํ าแหน‹ง เปšนศาสตราจารยสตรีคนแรกของ Sorbonne
ในป‚ พ.ศ. 2439 H. Becquerel ไดŒพบปรากฏการณกัมมันตภาพรังสีในธาตุบาง ชนิด Marie และสามีจึงไดŒร‹วมกันศึกษาและวิจัยผลการคŒนพบนี้ และไดŒพบธาตุ polonium ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2441 และธาตุ radium ในเดือนธันวาคมของป‚เดียวกัน ในการศึกษาธาตุกัมมันตรังสีใหม‹ๆ นั้นเธอไดŒยอม เปšนหนูตะเภาทดลองและไดŒพบว‹าเรเดียมที่หนัก 1 กรัม สามารถใหŒความรŒอนไดŒมากถึง 140 แคลอรีในเวลา 1 ชั่ว โมง บุคคลทั้งสองไดŒปฏิเสธไม‹ยอมรับรายไดŒหรือผลประโยชนใดๆ จากผลงานการคŒนพบของเขาทั้งสอง
โดยส‹วนตัว Marie เปšนคนเงียบ ขรึม สํ ารวม เด็ดเดี่ยว และเสียสละ เธอรักวิชาเคมีอย‹างเปšนชีวิตและ วิญญาณ ตําราสําคัญที่เธอแต‹งชื่อ Traite de Radioactivite ในป‚ พ.ศ. 2446 เธอและสามี ไดŒรับรางวัลโนเบล สาขาฟสิกสร‹วมกับ Becquerel จากผลงานเรื่องกัมมันตภาพรังสี และอีก 2 ป‚ต‹อมา เธอไดŒรับรางวัลโนเบลสาขา เคมีจาการคŒนพบธาตุกัมมันตรังสีเรเดียม
โลกวิทยาศาสตรรูŒจักกฏคูรี อุณหภูมิคูรี หน‹วยวัดกัมมันตรังสีที่วัดเปšนคูรี และธาตุ curium เธอเสียชีวิตลง ดŒวยโรคมะเร็งในเม็ดเลือด และเมื่อใกลŒจะถึงวาระสุดทŒายของชีวิต ตาทั้งสองขŒางของเธอบอดสนิท
สังคมฝรั่งเศสในสมัยนั้น ไม‹ยอมรับสตรีที่มีความทะเยอทะยาน สตรีที่มีความคิดอิสระ การพิชิตรางวัล โนเบลถึงสองรางวัลทําใหŒเธอเปšนวีรสตรี แต‹ถึงกระนั้นก็ตามในการสมัครเขŒาเปšนสมาชิกของ French Academy of Sciences อันมีชื่อเสียงของฝรั่งเศสที่ไม‹มีผูŒหญิงเปšนสมาชิกเลย เธอไดŒรับการต‹อตŒานจากบรรดาสมาชิกผูŒชาย ที่พากันคัดคŒานไม‹ใหŒเธอเขŒาร‹วมสมาคม ดŒวยใบสมัครเปšนสมาชิกของเธอถูกปฏิเสธเพราะเธอถูกพบว‹า มีความ สัมพันธฉันชูŒ กับ P. Langevin ผูŒเปšนนักฟสิกสที่มีครอบครัวแลŒว จดหมายรักของเธอถูกเผยแพร‹ไปทั่วประเทศ เมื่อ Royal Swedish Academy ประกาศมอบรางวัลโนเบลสาขาเคมีใหŒแก‹เธอ สมาชิกของสถาบันโนเบลท‹านหนึ่ง ไดŒขอรŒองใหŒเธอสละสิทธิ์การรับรางวัล เพื่อมิใหŒรางวัลมีมลทินใดๆ แต‹มาดาม Curie ไม‹สนและไม‹สละสิทธิ์ เธอ และบุตรสาวไดŒเดินทางไปรับรางวัลที่ Stockholm โดยอŒางว‹าความสามารถทางวิชาการกับวิถีชีวิตส‹วนตัวเปšน คนละเรื่องกัน
ดังนั้นถึงแมŒเธอจะเปšนนักวิทยาศาสตรระดับอัจฉริยะ แต‹ในดŒานการดํ ารงชีวิตเธอก็มีป˜ญหามาก โลกวิทยา ศาสตรยุคนั้น มีชีวิตชีวาเพราะเธอเปšนสตรีคนเดียวในที่ประชุมต‹างๆ ของนักวิทยาศาสตร บุตรสาวที่ชื่อ Irene ของเธอสามารถพิชิตรางวัลโนเบลสาขาฟสิกสใหŒแก‹ตระกูล Curie เปšนรางวัลที่สามในอีกหลายป‚ต‹อมา
เมื่อเดือนมีนาคมที่ผ‹านมานี้ ประธานาธิบดี Francois Mitterand ของฝรั่งเศสไดŒประกาศใหŒยŒายศพของนาง และสามีไป ฝัง ที่ Pantheon ซึ่ง เปšน สุสานเฉพาะสํ าหรับชาวฝรั่งเศสผูŒทําชื่อเสียงสูงสุดใหŒแก‹ประเทศ เธอเปšนสตรี คนแรกที่ถูกฝ˜งที่นั่นและเปšนนักวิทยาศาสตรคนที่สอง นับต‹อจาก Berthelot นักเคมีระดับโนเบลอีกท‹านหนึ่ง
ถึงแมŒว‹าในขณะที่มีชีวิตอยู‹ เธอถูกปฏิเสธมิใหŒเปšนสมาชิกของ French Academy of Sciences แต‹ขณะนี้เธอเปšนสมาชิกของ Pantheon แลŒว
ก็โกŒและเกŽกว‹ากันมากเลย

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)