Abdus Salam
Abdus Salam เกิดเมื่อป‚ พ.ศ. 2469 ที่เมือง Jhang ในแควŒนป˜ญจาบ ซึ่งขณะนั้นอยู‹ในความปกครอง ของอินเดีย แต‹ป˜จจุบันอยู‹ในประเทศปากีสถาน บิดาของ Salam เปšนคนที่เคร‹งศาสนา จึงสนับสนุนและส‹งเสริม ใหŒบุตรไดŒรับการศึกษาสูง Salam ไดŒรับการศึกษาชั้นตŒนที่เมือง Lahore และต‹อมาไดŒรับทุนของรัฐบาลไปศึกษา ฟสิกสในระดับปริญญาตรีที่วิทยาลัย St. John’s ของมหาวิทยาลัย Cambridge ในประเทศอังกฤษ เขาสํ าเร็จการ ศึกษาฟสิกสระดับปริญญาเอกที่ Cambridge ในขณะที่มีอายุเพียง 26 ป‚
ในป‚ พ.ศ. 2522 Salam ไดŒรับรางวัลโนเบลสาขาฟสิกสร‹วมกับ S. Weinberg และ S. Glashow จากผลงานการสรŒางทฤษฎี Electroweak Theory ที่สามารถอธิบายปรากฏการณต‹างๆ ทั้งทางแม‹เหล็กไฟฟ้า และทางนิวเคลียรไดŒหมด ทฤษฎีนี้เปšนที่ยอมรับกัน ในวงการฟสิกสว‹าเปšนทฤษฎี ทีสํ าคัญที่สุดทฤษฎีหนึ่งของโลก
ตามปกติผลงานฟสิกสทฤษฎีที่บริสุทธิ์เช‹นนี้ มักจะเปšนผลงานของนักฟสิกสจากประเทศตะวันตก แต‹ Salam ก็ไดŒพิสูจนใหŒโลกเห็นว‹า เขาเปšนนักฟสิกสจากปากีสถาน จากประเทศโลกที่สามคนเดียวเท‹านั้นที่สามารถ เทียบบ‹าเคียงไหล‹กับยักษใหญ‹ทางสติป˜ญญาของโลกตะวันตกไดŒอย‹างชนิดหมัดต‹อหมัด
นอกจากทฤษฎี Electroweak ที่ระบือลือลั่นแลŒว Salam ยังไดŒบุกเบิกวิทยาการแขนงต‹างๆ ในวิชา ฟสิกสอีกมากมาย เช‹น Standard Model, Supersymmetry และ Grand Unified Theory เปšนตŒน
ชีวิตของ Salam เปšนชีวิตที่ไดŒรับการยกย‹องและศรัทธา เขาไดŒรับเชิญใหŒเปšนสมาชิกของสมาคม วิชาการที่เด‹นดังของโลก เช‹น Royal Society ของอังกฤษ National Academy of Sciences ของสหรัฐฯ และ USSR Academy of Sciences ของรัสเซีย เปšนตŒน เขาไดŒรับปริญญาดุษฎีบัณฑิตถึง 45 ปริญญา จาก 28 ประเทศทั่วโลก รวมทั้งไดŒรับเครื่องอิสริยาภรณ KBE ของอังกฤษและเหรียญทอง Einstein ของ UNESCO อีกดŒวย
นอกจากจะใชŒชีวิตเปšนนักวิทยาศาสตรที่ยิ่งใหญ‹ที่สุด คนหนึ่งของโลกแลŒว Salam ยังใชŒชีวิตส‹วนหนึ่ง สนับสนุนนักวิทยาศาสตรอื่นๆ จากโลกที่สาม ใหŒมีกํ าลังใจในการพัฒนาตนเอง และประเทศชาติของตนอย‹างต‹อเนื่อง เพราะว‹าเขารูŒจิตใจของนักวิทยาศาสตรจากประเทศที่ดŒอยพัฒนาทั้งหลายว‹า ส‹วนมากตŒองทํ างานอย‹าง โดดเดี่ยวไรŒการติดต‹อ และขาดความร‹วมมือกับนักวิทยาศาสตรคนอื่นๆ Salam คิดว‹า หากเหตุการณ “ถูกปล†อยเกาะ” เช‹นนี้ ดํ าเนินติดต‹อไปนานๆ นักวิทยาศาสตรคนนั้นจะ “ตายทางป˜ญญา”
เขาจึงไดŒใชŒชื่อเสียงและความสามารถของเขา ชักนําใหŒ UNESCO สนับสนุนการจัดตั้ง International Centre for Theoretical Physics หรือ ICTP ขึ้นที่เมือง Trieste ในประเทศอิตาลี ในป‚ พ.ศ. 2507 เพื่อให้ทุนแก‹นักวิทยาศาสตรหนุ‹ม-สาว จาก ประเทศโลกที่สามเดินทางไปศึกษาและฝƒกอบรม ที่อิตาลีเปšนเวลาสั้นๆ เพื่อหล‹อเลี้ยงไฟทํางาน ของคนเหล‹านี้ มิใหŒดับสูญ Salam เองไดŒดํ ารง ตํ าแหน‹ง เปšนผูŒอํานวยการของ ICTP นี้ตั้งแต‹สถาบันถือกําเนิด จนกระทั่งถึงป‚ พ.ศ. 2536 เขาจึงไดŒลาออกจากตํ าแหน‹ง เพราะไดŒรับการวิเคราะหว‹า ป†วยเปšนโรค Parkinson’s
ในช‹วงระยะสุดทŒายของชีวิต เมื่อ Parkinson’s คุกคามหนัก Salam ป†วยหนัก พูดไม‹ไดŒ และตŒอง นั่งรถเข็น ICTP ไดŒจัดงานอำลาและขอบคุณ Salam ในงานนั้น มีนักวิทยาศาสตรระดับรางวัลโนเบลหลายคนมาร‹วมงาน และมีพิธีมอบปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ของมหาวิทยาลัย St. Petersberg ของรัสเซีย แก‹ Salam ดŒวย
บุคคลสําคัญๆ ไดŒกล‹าวสรรเสริญ Salam จนหมด แต‹ก็ดูเหมือน Salam ซาบซึ้งนŒอยมาก จนกระทั่งถึง คนสุดทŒาย ที่จะกล‹าวคํ าขอบคุณ เขาเปšนนักศึกษาจากปากีสถานที่ไดŒรับทุน ใหŒมาทํางานวิจัยที่ ICTP เขาไดŒ คํ านับ Salam อย‹างนอบนŒอม แลŒวโคŒงลงกระซิบใกลŒหูของ Salam ว‹า “ท‹านครับ ผมเปšนนักศึกษาจากปากีสถาน พวกเราทุกคนภูมิใจในตัวท‹านมาก “ ทันทีที่พูดจบ ร‹างของ Salam สั่นสะทŒานดŒวยความตื้นตัน และนํ้ าตาของเขา ไดŒไหลนองอาบแกŒม
Salam ไดŒจากโลกนี้ไปเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 ศพของเขาไดŒถูกนํ าไปฝ˜งที่บŒานเกิดใน ประเทศปากีสถาน ในพิธีศพ มีนักวิทยาศาสตร ชาวบŒาน และนักการเมือง มาร‹วมพิธีอํ าลา นักวิทยาศาสตร ของชาติและของโลกผูŒนี้มากมาย
ผมเองไดŒเคยสัมผัสมือ และสนทนากับท‹านหลายครั้ง ไดŒเคยเล‹าใหŒท‹านฟ˜งเกี่ยวกับสถานภาพของวิทยา ศาสตรในประเทศไทย
บทความนี้เปšนวิทยบูชาที่ผมใหŒท‹าน ในฐานะที่เปšนวิทยบุรุษที่ผมเคารพสูงสุด ครับ

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)