วัตถุ
จะ
รักษา
สภาพ
นิ่ง
หรือ
เคลื่อน
ที่
สม่ำเสมอ
ใน
แนว
ตรง
นอก
จาก
จะ
มี
แรง
ลัพธ์
ซึ่ง
มี
ขนาด
ไม่
เป็น
ศูนย์
มาก
ระ
ทำ
จะ
ได้
สมการ
การ
เคลื่อน
ที่
เป็น
บาง
ครั้ง
เรียก
ว่า กฏแห่งความ
เฉื่อย
ถ้า
มี
แรง
ลัพธ์
ซึ่ง
มี
ขนาด
ไม่
เป็น
ศูนย์
มาก
ระ
ทำ
ต่อ
วัตถุ วัตถุ
จะ
เคลื่อน
ที่
ด้วย
ความ
เร่ง
ใน
ทิศ
ทาง
เดียว
กับ
แรง
ลัพธ์
ที่
มาก
ระ
ทำ
ขนาด
ของ
ความ
เร่ง
จะ
แปร
โดย
ตรงกับแรง
ลัพธ์ และ
แปรผกผัน
กับ
มวล
ของ
วัตถุ
นั้น
จะ
ได
้ สมการ
ของ
การ
เคลื่อน
ที่
เป็น
เมื่อ
มี
แรง
กิริยา
ย่อม
มี
แรง
ปฏิกิริยา
ซึ่ง
มี
ขนาด
เท่า
กั
และ
มิ
ทศ
ทางตรง
กัน
ข้าม
เรียก
แรง
กิริยา
และ
แรง
ปฏิกิริยา
คู่
ใด ๆ ว่า แรง
คู่
ปฏิกิริยา
แรง
คู่
ปฏิกิริยา
ใด
มี
สมบัติ
4
ประการ
คือ
เกิด
ขึ้น
พร้อม
กัน
มี
ขนาด
เท่า
กัน
ทำ
ซึ่ง
กัน
และ
กัน
แรงโน้มถ่วง
ของ
โลก
(Gravitational force :
)
คือ
แรง
ที่
โลก
กระ
ทำ
ต่อ
มวล
ของ
วัตถุ ทำ
ให้ วัตถุ
มี
น้ำ
หนัก โดย
ที่ หรือ
แรง
ตึง
ใน
เส้น
เชือก
(Tension force ) คือ
แรง
ที่
เกิด
ขึ้น
ใน
เส้น
เชือก
ที่
ถูก
ขึง
ตึง โดย
ที่ ใน
เส้น
เชือก
เดียว
กัน
ย่อม
มี
แรง
ตึง
เท่า
กัน
ทุก
จุด และ
ทิศ
ทางของ
แรง
ตึง
มี
ทิศ
ทา
งอ
ยู่
ใน
แนว
ของ
เส้น
เชือก
แรง
ต้าน
ของ
อากาศ
(Air resistance force)
คือ
แรง
ที่
อากาศ
ต่อ
ต้าน
การ
เคลื่อน
ที่
ของ
วัตถุ
แรง
ต้าน
ของ
อากาศ
จะ
มี
ขนาด
แปรโดย
ตรงกับอั
ตรา
เร็ว
ของ
วัตถุ
ยก
กำลัง
ต่าง ๆ และ
มี
ทิศ
ทางตรง
ข้ามกับการ
เคลื่อน
ที่
ของ
วัตถุ
แรง
หนืด
(Viscosity force) คือ
แรง
ที่ ของ
เหลว
ต่อ
ต้าน
การ
เคลื่อน
ที่
ของ
วัตถุ สำหรับ
วัตถุ
ทรง
กลม รัศมี r เคลื่อน
ที่
ด้วย
อัตรา
เร็ว v ใน
ของ
เหลว
หรือ
ก๊าซ ที่
มี
ความ
หนืด
แรง
เสียด
ทาน
(Friction force ) คือ
แรง
ที่
ต่อ
ต้าน
การ
เคลื่อน
ที่
ของ
วัตถุ เกิด
ขึ้น ระหว่าง
ผิว
สัมผัส
ของ
วัตถุ กับพื้น
ผิว
ใด ๆ มี 2 ประเภท
คือ
แรง
เสียด
ทาน
สถิต (Static friction :
) เกิด
ขึ้น
ใน
วัตถุ
ที่
หยุด
นิ่ง ใน
ขณะ
ที่
วัตถุ
เริ่ม
เคลื่อน
ที่ แรง
เสียด
ทาน
สถิต จะ
มี
ค่า
สูง
สุด
เรียก
ว่า
starting friction or limiting friction
แรง
เสียด
ทาน
จลน์ (Kinetic friction :
) เกิด
ขึ้น
ใน
วัตถุ
ที่
มี
การ
เคลื่อน
ที่
แบ่ง
ได้
เป็น
2
แบบ
คือ
sliding
friction
เกิด
จาก
การ
ไถล
ของ
วัตถุ
ชนิด
หนึ่ง
บน
วัตถุ
อีก
ชนิด
หนึ่ง
rolling
friction
เกิด
จาก
การ
กลิ้ง
ไป
ของ
วัตถุ
ชนิด
หนึ่ง
บน
วัตถุ
อีก
ชนิด
หนึ่ง
มี
ทิศ
ทาง
ตรง
ข้าม
กับ
การ
เคลื่อน
ที่
ของ
วัตถุ
ที่
ผิว
สัมผัส
ขนาด
ของ
แรง
ขึ้นกับชนิด
ของ
คู่
ผิว
สัมผัส
นั้น ๆ
ขนาด
ของ
แรง
ไม่
ขึ้น
อยู่
กับ
พื้น
ที่
ผิว
สัมผัส
หรือ
รูป
ร่าง
ของ
วัตถุ
ใน
ระหว่าง
ผิว
สัมผัส
คู่
ใด ๆ
ขนาด
ของ
แรง
เสียด
ทาน
จะ
แปร
ผกผัน
กับ
แรง
ปฏิกิริยา
ที่
ตั้ง
ฉาก
กับ
ผิว
สัมผัส
คือ
อัตรา
ส่วน
ระหว่าง
แรง
เสียด
ทาน
ต่อ
แรง
ปฏิกิริยา
ที่
ตั้ง
ฉาก
กับ
ผิว
สัมผัส
มี
2
ชนิด
สัมประสิทธิ์
ของ
ความ
เสียด
ทาน
สถิต
สัมประสิทธิ์
ของ
ความ
เสียด
ทาน
จลน์
เป็น
อัตรา
ส่วน
ระหว่าง
แรง
เสียด
ทาน
ต่อ
แรง
ปฏิกิริยา
ไม่
ขึ้น
กับ
ขนาด
ของ
พื้น
ที่
ผิว
สัมผัส
ขึ้น
อยู่
กับ
ชนิด
ของ
วัตถุ
ที่
เป็น
คู่
ผิว
สัมผัส
ขึ้น
กับ
ลักษณะ
ของ
คู่
ผิว
สัมผัส
ขึ้น
กับ
อุณหภูมิ
ของ
ผิว
สัมผัส ถ้า
อุณหภูมิ
สูง
ขึ้น
สัมประสิทธิ์
ของ
ความ
เสียด
ทาน
จะ
ลด
ลง
โดย ปรีชา โสมะภีร์ โรงเรียนบางปลาม้า"สูงสุมารผดุงวิทย์"
อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี
และสำนักบริการคอมพิวเตอร์
Email:PreechaSo@thaimail.com