จากกฎของนิวตัน F=ma หรือเมื่อมีแรงกระทำต่อวัตถุ วัตถุเคลื่อนที่ ก็จะมีพลังงานของวัตถุกำลังเคลื่อนที่

พลังงานที่เกิดขึ้น เป็นพลังงานจลน์ (Kinematic)

พลังงานจลน์

เมื่อ Ek คือ พลังงานจลน์ (มีหน่วยเป็นจูล)

m คือ มวล (กิโลกรัม)

v คือ ความเร็ว (เมตร/วินาที)

 

แรงขนาน

เมื่อมีแรงกระทำพร้อมกันหลาย ๆ แรงกระทำต่อวัตถุก้อนเดียว แต่ละแรงมีทิศขนานกับเราเรียกว่าแรงขนาน แรงขนานมี 2 ประเภทดังนี้

แรงขนานพวกเดียวกัน คือ แรงขนานที่มีทิศไปทางเดียวกัน

ถ้า y เป็นตำแหน่งแรงลัพธ์

P . xy = Q . yz

R = P + Q

แรงขนานต่างพวกกัน คือ แรงขนานที่มีทิศสวนทางกัน

ถ้า C เป็นตำแหน่งแรงลัพธ์

P . xy = Q. xz

R = P - Q

แรงขนานเหล่านี้จะทำให้ผลรวมของแรงไม่เป็นศูนย์และถ้าคิดโมเมนต์ที่จุดแรงลัพธ์ผลรวมของโมเมนต์จะเป็นศูนย์


โดย รศ.ยืน ภู่วรวรรณ สำนักบริการคอมพิวเตอร์