การศึกษาหาข้อพิสูจน์ต่างๆทางฟิสิกส์ เน้นข้อมูล
ที่ได้
จากการ
ทดลอง
ซึ่งจะช่วย
ให้
สามารถ
อธิบาย
ข้อสงสัย
ต่างๆ
ของ
นัก
วิทยาศาสตร์
ได้
ดังนั้น
ในหลักการ
ทดลอง
ในห้อง
ปฏิบัติการ จะต้อง
มีการ
เก็บรวบรวม
ข้อมูล
นำมา
วิเคราะห์
และ
แปลความ
สรุปผล
การ
ทดลอง
ออกมา
เมื่อเผยแพร่
ออกมา
และเป็น
ที่ยอมรับ
จะนำ
ไปสู่การ
สรุปเป็น
ทฤษฎี
และ
กฎต่อไป
ในการทดลอง
จำเป็น
ต้องมี
เครื่องมือ
ในการวัด
ข้อมูลอ
ย่างละเอียด
และแม่นยำ
โดยข้อมูล
นี้ได้แบ่ง
ออกเป็น
2
ประเภท
คือ
ข้อมูล
เชิงคุณภาพ
(qualitative data) และ ข้อมูล
เชิงปริมาณ (quantitative data)
ข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นข้อมูลที่
ไม่มี
ขนาด ไม่
สามารถ
วัด
ออกมาได้ เป็นสิ่ง
ที่ได้
จากการ
สังเกต
ของการ
รับรู้ทาง
ความรู้สึก
และสัมผัส
เท่านั้น เช่น สี กลิ่น รส
ข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นข้อมูลที่สามารถ
วัดได้
เป็นปริมาณ
เชิงตัวเลข
เช่น อุณหภูมิ ระยะทาง น้ำหนัก เป็นต้น ซึ่งก็ต้อง
มีเครื่องมือ
ในการวัด
ที่เป็น
มาตรฐาน
สากล จึงจะนำสิ่ง
ที่วัดได้
มาเปรียบเทียบ
กันได้
ข้อมูลเชิงปริมาณนี้สามารถแสดงความสัมพันธ์
ได้ด้วย
สมการ
ทาง
คณิตศาสตร์
ซึ่ง
ส่วนใหญ่
ปรากฎ
อยู่ใน
ทฤษฎี
และกฎ
ทางฟิสิกส์
ที่ได้
จาก
การ
ทดลอง เราเรียก
ปริมาณ
นี้ว่า ปริมาณ
กายภาพ
(physical quantity) แบ่งออกเป็น
ปริมาณฐาน (base unit)
ปริมาณอนุพัทธ์(derived unit)
และในการบันทึกผลการวัดข้อมูลเชิงปริมาณนี้ มักจะเป็นค่าตัวเลข
และ
มีหน่วย
วัดที่
ชัดเจน เพื่อ
บอก
ปริมาณ
ได้ว่ามาก
หรือ
น้อย
เป็น
จำนวน
เท่าไร โดย
อาศัย
เครื่องมือ
ในการ
วัดแบบ
ต่างๆ
ที่ได้มี
การพัฒนา
ให้เป็น
มาตรฐาน
สากล ตัวอย่าง
เช่น
คำอุปสรรค
สัญลักษณ์
ตัวพหุคูณ
กิโล (kilo)
k
10
3
เมกะ (mega)
M
10
6
จิกะ (giga)
G
10
9
ที่มา : หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ 1 ว 422
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กระทรวงศึกษาธิการ