Voyager 2 ท่องจักรวาล

เทพนิยายกรีกกล‹าวถึง Daedalus และ lcarus ว‹าไดŒใชŒขี้ผึ้งทํ าเปšนป‚กสําหรับบิน การใชŒป‚กทํ าใหŒ Daedalus เหาะเหินเดินฟ‡าไดŒสํ าเร็จ แต‹ lcarus ไดŒบินใกลŒดวงอาทิตยมากเกินไป ป‚กขี้ผึ้งจึงหลอมเหลว มีผลทํ าใหŒ lcarus ตกจากฟ‡าลงมาตายบนโลก นี่คือนิทาน ความจริงมีอยู‹ว‹า นับตั้งแต‹มนุษยไดŒถือกํ าเนิดมาบนโลกมนุษยใฝ†ฝ˜นที่จะบินไดŒ เหมือนนกมานานแสนนานแลŒว ความปรารถนาในการบินนี้มีมานานมาก ถึงกับทําใหŒมนุษยมีจินตนาการต‹างๆ นานา ในรูปของ superman มŒาบิน Pegasus กามเทพ Cupid และ Peter Pan เปšนตŒน เพราะมนุษยรูŒดีว‹าป‚กเปšนป˜จจัยสํ าคัญและจําเปšนในการบิน
แต‹ธรรมชาติมิไดŒสรŒางใหŒมนุษยเรามีป‚ก ถึงกระนั้นธรรมชาติก็ไดŒใหŒสมอง ที่ฉลาดแก‹มนุษยแทนเปšนการชดเชย สมองที่ปราดเปรื่องของคน ทํ าใหŒคนสามารถสรŒางเครื่องบินที่มีป‚กสําหรับบินไดŒในที่สุด
ประวัติศาสตรไดŒจารึกว‹า เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ป‚ พ.ศ. 2446 เมื่อเวลา 10.35 น. สองพี่นŒองนัก ประดิษฐชื่อ Orville และ Wilbur Wright ไดŒประสบความสํ าเร็จในการเดินทางไปใน อากาศ โดยอาศัยเครื่องบินที่หนักกว‹า อากาศไดŒเปšนครั้งแรก ยานที่สองพี่นŒอง ตระกูล Wright สรŒางนี้ไดŒทะยานขึ้นสู‹อากาศเหนือบริเวณหาด Kitty Hawk รัฐ Carolina เหนือ ในสหรัฐอเมริกาดŒวยความเร็ว 50 กิโลเมตร/ชั่วโมงเปšนเวลานาน 12 วินาที
ความสําเร็จในการบินครั้งนี้ คงไม‹ไดŒทํ าใหŒเหล‹านกอิจฉาตารŒอนแต‹ประการใด เพราะยานพุ‹งไดŒไกล เพียง 40 เมตรเท‹านั้นเอง และตั้งแต‹นั้นมาเทคโนโลยีการบินก็ไดŒพัฒนารุดหนŒาไปเปšนลำดับในป‚ พ.ศ. 2450 Louis Bleriot ชาวฝรั่งเศสประสบความสําเร็จในการบินขŒามช‹องแคบอังกฤษจาก Calais ถึง Dover ข‹าว ความสําเร็จนี้ไดŒทําใหŒคนอังกฤษตกตะลึงพรึงเพริด เมื่อตระหนักว‹าตั้งแต‹นี้เปšนตŒนไป สภาพความเปšนเกาะ ไม‹สามารถจะป‡องกันประเทศของตนใหŒรอดพŒนจากการโจมตีทางอากาศโดยขŒาศึกไดŒอีกต‹อไป และคนทุกคน ก็รูŒดีว‹าจากนี้ไป เครื่องบินมิไดŒเปšนเครื่องเล‹นของมนุษยอีก เพราะมนุษยสามารถใชŒเครื่องบินบรรทุกระเบิด และทหารไดŒนั่นคือ มนุษยสามารถใชŒเครื่องบินเปšนอาวุธสงครามไดŒ คนอังกฤษจึงเริ่มตื่นตัวศึกษาวิทยาการ การบินมากขึ้น อีก 35 ป‚ต‹อมา ความกลัว ความกังวลทั้งหลายของคนอังกฤษก็เปšนจริง เมื่อเยอรมนียิง จรวด V-2 ถล‹มลอนดอน จรวด V-2 มิใช‹เครื่องบิน แต‹เปšนจรวดขนาดใหญ‹ ที่ถูกยิงจากฐานปล†อย ซึ่งอยู‹ ห‹างจากเป‡าหลายรŒอยกิโลเมตร ตัวจรวดมีรูปร†างคลŒายกระสุนป„นที่ติดป‚กจึงสามารถลอยอยู‹ในอากาศไดŒนาน ประมาณครึ่งชั่วโมง จากนั้นความสามารถในการบินของคนเราก็ไดŒเพิ่มขึ้นอีกเปšนลํ าดับ เพราะภายในเวลา เพียง 65 ป‚ 7 เดือน 3 วัน 5 ชั่วโมง 43 วินาที นับตั้งแต‹ Orville Wright บินขึ้นเหนือโลก Neil Armstrong ก็ไดŒชื่อว‹าเปšนมนุษยคนแรกที่ไดŒไปเยือนดวงจันทรเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2511 และกลับ มายังโลกไดŒอย‹างปลอดภัย ยานอวกาศ Eagle บินลงบนดวงจันทรไดŒดี ถึงแมŒดวงจันทรจะไม‹มีอากาศใหŒ ยานร‹อนไปมาก็ตาม
สถิติความสูงในการบินเหนือโลก มิไดŒเปšนของนักบินอวกาศ Neil Armstrong ในยาน Apollo 11 แต‹เปšนของมนุษยอวกาศในยาน Apollo 13 เมื่อ Jim Lovell กัปตันยานไดŒตรวจพบว‹า ถังออกซิเจนในยาน ชํ ารุด ทํ าใหŒเขาไม‹สามารถบินลงดวงจันทรไดŒ Lovell จึงไดŒบังคับยานใหŒพุ‹งอŒอมดวงจันทรออกไปไกลจากโลก ถึง 392,000 กิโลเมตร แลŒวอาศัยแรงโนŒมถ‹วงของดวงจันทรดึงดูดยานใหŒโคจรเปšนเลขแปดหวนกลับมาสู‹โลก อีกครั้งหนึ่ง
นักวิทยาศาสตรคาดว‹าสถิติการบินไกลจากโลกในอนาคต น‹าจะเปšนของยานอวกาศ Voyager 2 ที่ สหรัฐฯ ไดŒขึ้นอวกาศในป‚ พ.ศ. 2520 ใหŒไปโคจรผ‹านดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร ดาวมฤตยูและดาวเนปจูน รวมทั้งดวงจันทรใหญ‹นŒอยของดาวเคราะหเหล‹านี้ร‹วม 50 ดวง ในขณะที่ Voyager 2 พุ‹งผ‹านดาวพฤหัสบดี นั้น ยานมีความเร็ว 17.8 กิโลเมตร/วินาที ซึ่งนับว‹าสูงพอที่จะทํ าใหŒยานสามารถพุ‹งหนีสุริยจักรวาลไดŒ ยาน Voyager 2 ไดŒผ‹านวงโคจรของดาวพลูโต เมื่อ 5 ป‚ก‹อนนี้เอง และขณะนี้กํ าลังทะยานหนีไกลจากดวง อาทิตยออกไปเรื่อยๆ NASA คาดหวังที่จะสามารถรับสัญญาณจากยานไดŒจนถึงป‚ พ.ศ. 2563 เมื่อเครื่องส‹ง สัญญาณวิทยุของยานหมดกําลัง เพราะพลังงานที่ไดŒจากการสลายตัวของกัมมันตรังสีบนยานหมดลง
ยาน Voyager 2 มีเทปบันทึกเสียง และภาพของชีวิตบางชีวิต บนโลก เพราะ NASA คาดหวังว‹า เมื่อใดก็ตามที่ยานถูกมนุษยต‹างดาวยึดไดŒ มนุษยต‹างดาวก็จะไดŒมีโอกาสรูŒที่มาของยานและรูŒจักโลกของเราที่สรŒางมันทันที
สถิติการบินของยาน Voyager 2 ไดŒจารึกว‹าขณะที่ยาน Voyager 2 เผชิญดาวเคราะห Neptune นั้น มันอยู‹ห‹างโลก 2,830 ลŒานกิโลเมตร และมีความเร็ว 16.7 กิโลเมตร/วินาที NASA ทํานายว‹าในอีก 18,392 ป‚ขŒางหนŒา ยาน Voyager 2 จะเดินทางถึงตำแหน‹งที่อยู‹ห‹างจากดาวฤกษ Proxema Centauri อันเปšนดาว ฤกษที่อยู‹ใกลŒดวงอาทิตยมากที่สุด ที่ระยะห‹าง 30.4 ลŒานลŒานกิโลเมตร และจากนี้ไปอีกนาน 24,000 ป‚ Voyager 2 ก็จะเดินทางถึงบริเวณที่เมฆ Oort อยู‹ จากนั้นมันจะเคลื่อนที่ผ‹านเมฆ Oort หลุดพŒนจากอิทธิพล แรงดึงดูดของดวงอาทิตย ออกสู‹อวกาศที่เวิ้งวŒางของทางชŒางเผือกต‹อไป
คอมพิวเตอรของ NASA คํ านวณว‹า ในป‚พ.ศ. 40719 ยาน Voyager 2 จะอยู‹ห‹างจากดาวฤกษ Ross 248 ประมาณ 15.7 ลŒาน ลŒานกิโลเมตร ที่ระยะนี้จะทํ าใหŒมันอยู‹ใกลŒดาวฤกษดวงหนึ่ง ยิ่งกว‹าใกลŒ ดวงอาทิตยของเราเสียอีก เพราะขณะนั้นดวงอาทิตยจะอยู‹ห‹างจากยาน 19 ลŒานลŒานกิโลเมตร และในป‚ พ.ศ. 296,579 Voyager 2 ก็จะผ‹าน ดาว Sirius ซึ่งเปšนดาวฤกษที่สุกใสที่สุดในทŒองฟ‡า
และหากเรามองดูไกลไปอีกพันลŒานป‚ในอนาคต หากยานไม‹ถูก อุกกาบาตหรือฝุ†นอวกาศขนาดใหญ‹ชน และยานถูกมนุษยต‹างดาวยึด ไดŒ มนุษยเหล‹านั้นเล‹นเทปบันทึกเสียง พรŒอมกับดูภาพต‹างๆ ที่ยาน บรรทุกไป เขาก็จะไดŒยินเสียงเพลงร็อกของ Chuck Berry เพลงซิมโฟนี ของ Mozart, Bach ,Beethoven นอกจากเสียงเพลงแลŒวเขายังจะไดŒ ยินเสียงคลื่น เสียงพายุ เสียงฝน เสียงฟ‡ารŒอง เสียงกบ เสียงสุนัข เสียงรถไฟ เสียงรถยนต เสียงเครื่องบิน เสียงจรวด เสียงเด็กรŒอง และเสียงจูบ
อุปกรณอิเล็กทรอนิกสบนยาน ยังมีภาพของมนุษยทั้งชายและหญิง ภาพแสดงตำแหน‹งของโลกใน สุริยจักรวาล และตำแหน‹งของดวงอาทิตยในกาแล็กซี่ทางชŒางเผือก ภาพ Chromosome ของคน ภาพ สะพาน Golden Gate ที่ซานฟรานซิสโก และภาพของกํ าแพงเมืองจีน
ในอีกหมื่นลŒานป‚ เมื่อทวีปต†างๆ บนโลกแตกกระจาย และเคลื่อนยŒายจากกัน เมื่อนํ้ าในมหาสมุทรเหือดแหŒงหมดไป เมื่อมนุษยสูญพันธุไปจากโลกหรือเปลี่ยนสภาพเปšนมนุษยพันธุอื่นหมดสิ้น ยาน Voyager 2 (ที่หากไม‹มีใครยึดไดŒ) ก็จะยังคงเดินทางผ‹านดาวต‹างๆ ในทางชŒางเผือก ต‹อไปอย‹างไม‹มีวันหยุด เสียงหัว ใจของมนุษยที่บันทึกอยู‹ในเทปก็จะยังคงเตŒนต‹อไปอย‹างนิจนิรันดร์
The heart will go on and on….ยังไงยังงั้น

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)