เมื่อประมาณ 20 ปกอนนี้ Walter Munk นักวิทยาศาสตรแหง Scripps Institute of
Oceanography ในสหรัฐอเมริกาไดพบวา เขาสามารถรูวาโลกเรารอนขึ้นหรือเย็นลงเพียงใด โดยการวัด
อุณหภูมิของนํ้าในมหาสมุทร โดยอาศัยหลักความจริงที่วาความเร็วของเสียงในนํ้ ารอนนั้นชากวาความเร็ว
ของเสียงในนํ้าเย็น
Munk จึงคิดวาหากเขารูความเร็วเฉลี่ยของคลื่นเสียงในมหาสมุทร เขาก็สามารถจะวัดอุณหภูมิเฉลี่ย
ของนํ้าในมหาสมุทรได
ทุกวันนี้ เราทุกคนรูดีวาปรากฏการณเรือนกระจกเปนปญหาโลกแตก เพราะนักวิชาการทั้งหลายตาง
ก็คาดคะเนวา อุณหภูมิของโลกเราจะเพิ่มสูงขึ้นทุกป แตการวัดอุณหภูมิของอากาศทั้งโลกนั้นไมมีใครทํ าได
เพราะอุณหภูมิของอากาศในสถานที่แตละแหงนั้นตางกัน ถึงแมสถานที่เดียวกันก็ตาม อุณหภูมิของอากาศ
ในสถานที่นั้นๆ ในแตละเวลา ในแตละเดือน ในแตละปก็ยังไมเทากันเลย เมื่อความแปรปรวนของอุณหภูมิ
มีมากเชนนี้ นักวิทยาศาสตรจึงตองหันมาศึกษาอุณหภูมิของนํ้ าทะเลแทน เพราะอุณหภูมิของนํ้ าทะเลมิได
แปรปรวนมากเทาอุณหภูมิของอากาศ
แตการที่จะเอาเทอรโมมิเตอร จุมวัดอุณหภูมิของนํ้าในสถานที่แตละแหงของโลกนั้น ไมสะดวกและให
ผลไมแนนอน Munk จึงคิดวา หากเขาสามารถสงคลื่นไปใตนํ้ า แลวใชเครื่องรับเสียงดักฟง ณ สถานที่ไกล
ออกไป ในเวลาหนึ่งชั่วโมง หากเสียงเดินทางชาไป 0.002 วินาที เขาก็สามารถสรุปไดวา อุณหภูมิของนํ้ า
ไดเพิ่มสูงขึ้น 0.05 องศาเซลเซียสเรียบรอย
ดังนั้นในป พ.ศ. 2532 ทีมทดลองที่นํ าโดย Munk ไดทดสอบความคิดนี้โดยใชอุปกรณ โซนาร
(sonar) สงเสียงไปในนํ้ า จากเกาะ Heard ที่อยูกลางมหาสมุทรแอนตารกติกา เสียงที่มีความดัง 215 เด
ซิเบล (ดังพอๆ กับรถพยาบาล) เดินทางใตนํ้ าไปไดไกลถึงชายฝง California ของมหาสมุทรแปซิฟก และ
เกาะ Bermuda ในมหาสมุทรแอตแลนติก
แตการทดลองของ Munk นี้ ไดรับการตอตานจากบรรดานักชีววิทยาสัตวทะเลหลายคน เพราะคน
กลุมนี้เกรงวา การทดลองสงเสียงเชนนี้จะรบกวนสัตวทะเล เชน ปลาวาฬ ปลาโลมา และแมวนํ้ า คือทํ าให
มันเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและความเปนอยู เชนทําใหมันวายนํ้าหลงทางหรือทําใหมันหูหนวก
แตก็มีนักชีววิทยาอีกหลายคน ที่สนับสนุนโครงการวิจัยของ Munk โดยใหเหตุผลวาเสียงที่ใชในการ
ทดลองนั้น ถึงแมจะดัง แตก็คงไมทํ าใหสัตวทะเลพิการ เพราะ Munk จะคอยๆ สงเสียงแทนที่จะเปดดังทัน
ที นอกจากนี้