เราทุกคนรูดีวาการที่จะทําใหกลอง โทรทรรศนมีประสิทธิภาพสูงนั้น เรา จํ าเปนตองใชเลนสที่มีขนาดใหญ
แตความคิดงายๆ ที่วา ถาเราตองการกลองที่มีกํ าลังสูงเพียงใด เราตองสรางเลนสใหมีขนาดใหญเพียงนั้นเปน
ความคิดที่ผิด เพราะเลนสที่ใหญจะมีนํ้ าหนักมาก และนํ้ าหนักที่มากนี้จะกดตัวเลนสจนกระทั่งเลนสเสียทรงเปน
เหตุใหมันโฟกัสแสงไดไมชัด นอกเหนือจากประเด็นเรื่องนํ้ าหนักแลว การสรางเลนสขนาดใหญใหเนื้อเลนสมี
ความหนาแนนสมํ่าเสมอตลอดตัวเลนสเปนเรื่องที่ทําไดยากมาก หากเนื้อเลนสมีความหนาแนนไมสมํ่ าเสมอ
ดัชนีหักเหของแกวที่ใชทําเลนส ก็มีผลทําใหเลนสนั้นโฟกัสแสงไดไมดี และภาพที่ไดจะไมชัดอีกเชนกัน
ปญหาและอุปสรรคเหลานี้เปนปจจัยที่ทําใหกลองโทรทรรศน มีขอจํ ากัดในเรื่องคุณภาพและประสิทธิภาพ
ในป พ.ศ. 2525 Ermanno แหงมหาวิทยาลัย Laval ในเมือง Quebec แคนาดา ไดสรางถาดกลม
ขนาดเสนผาศูนยกลางยาว 1.5 เมตร สํ าหรับบรรจุปรอท เมื่อเขาใชมอเตอรหมุนถาดดวยความเร็ว 10 รอบ/นาที
ผิวปรอทในบริเวณตรงกลางถาดจะโคงลงเปนรอยบุม และผิวปรอทที่ตรงบริเวณขอบถาดจะเขยิบสูงขึ้น ผิวโคงที่
มีลักษณะเชนนี้ ในวิชาคณิตศาสตรเขาเรียกวา โคงแบบ parabola
นักฟสิกสรูวากระจกทีโคงแบบ parabola สามารถโฟกัสแสงได และนั่นก็หมายความวา ถาดปรอททํ า
หนาที่เสมือนเปน กลองโทรทรรศนที่สามารถสองดูดาวได
ขอดีประการหนึ่งของกลองโทรทรรศนที่ใชปรอทคือ นักดาราศาสตรสามารถปรับความยาวโฟกัสของ
กระจกโคงไดโดยปรับความเร็วในการหมุนถาด และขอเสียขอหนึ่งของกลองชนิดนี้คือ เราใชมันดูดาวไดเฉพาะ
กลุมดาวที่อยูเหนือถาดตรงๆ เทานั้น เพราะถาถาดเอียงแมแตเพียงเล็กนอยก็ตาม ปรอทในถาดจะไหลเออไป
ขางหนึ่งทําใหความยาวโฟกัสของเลนสปรอทเปลี่ยน แตถึงแมจะมีขอจํ ากัดเชนนี้กลองโทรทรรศนที่ใชปรอทก็ยัง
มีประโยชนอยางมหาศาลในการคนหาอุกกาบาตหรือดาวเคราะหนอยตางๆ เพราะเพียงแตวางถาดปรอทในแนว
นอน กลองก็สามารถจะครอบคลุมพื้นที่ที่มองไดมากแลว
Borra ผูประดิษฐกลองนี้ไดเปนคนแรกชี้แจงวา ภาพดาวที่ถายไดจากกลองโทรทรรศนปรอทมีคุณภาพดี
พอๆ กับภาพที่ไดจากกลองโทรทรรศน Hubble แตขอที่ไดเปรียบเทียบมากของกลองแบบนี้คือ การมีราคาคา
กอสรางถูก เพราะกลองโทรทรรศนปรอทมีราคาถูกกวากลองโทรทรรศน Huble ราว 100 เทา
เมื่อปลายป 2534 นักดาราศาสตรจากมหาลัย California ที่ Los Angeles ไดประสบความสํ าเร็จในการ
สรางถาดปรอทที่มี