ณ บริเวณ
นี้ D. Jewitt และ J. Luu แห่
งม
หา
วิทยา
ลัย Hawaii ใน
สหรัฐ
อเมริกา
ได้
เห็น "ดาว
เคราะห์
" ขนาด
เล็ก
ดวง
หนึ่ง
ที่
มี
ความ
สว่าง
น้อย
กว่า
ดาว
ฤกษ์
ทั่ว
ไป
ถึง 6 ล้าน
เท่า
เมื่อ
วัน
ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ
. 2535 โคจร
อยู่
ที่
ระยะ
ทาง 41.2 AU จาก
ดวง
อาทิตย์
ดาว
ดวง
นี้
มี
เส้น
ผ่า
ศูนย์
กลาง
ยาว 250 กิโลเมตร และ
โคจร
รอบ
ดวง
อาทิตย์
หนึ่ง
รอบ
โดย
ใช้
เวลา
นาน 290 ปี ดาว
เคราะห์ "เล็ก
" นี้
ได้
รับ
การ
ตั้ง
ชื่อ
เป็น
ทางการ
ว่า 1992 QB1 และ
ขณะ
นี้
นัก
ดารา
ศาสตร์
ได้
เห็น
ดาว
เคราะห์ "เล็ก
" ขนาด
ใกล้
เคียง
กัน
นี้
ถึง 25 ดวง
แล้ว
ใน
วาร
สาร Astrophysics Journal ฉบับ
ที่ 109 ของ
ปี พ.ศ
. 2535 Jewitt และ Luu ได้
ราย
งาน
ผล
การ
คำนวณ
ว่าสุริยจักรวาล
จะ
ต้อง
มี
ดาว "เล็ก
" ที่
มี
เส้น
ผ่า
ศูนย์
กลาง
ตั้ง
แต่ 100-350 กิโลเมตร
และ
โคจร
ห่าง
ที่
ระยะ
ห่าง
ตั้ง
แต่ 30-50 AU จาก
ดวง
อาทิตย์
มาก
ถึง 35,000 ดวง และ
ดาว "เล็ก
" เหล่า
นี้
มี
ความ
หนา
แน่น
พอๆ กับความ
หนา
แน่น
ของ
น้ำ จึง
มี
น้ำ
หนัก
รวม
กัน
เป็น
เพียง 0.3 เปอร์เซ็นต์
ของ
น้ำ
หนัก
โลก
เท่า
นั้น
เอง
และ
เมื่อ
เดือน
พฤษภาคม พ.ศ
. 2536 กล้อง
โทร
ทัศน์ Hubble ก็
ได้
ราย
งาน
ว่า เห็น
ดาว
เคราะห์ "เล็ก
" ที่
มี
ขนาด
ตั้ง
แต่ 10 ถึง 20 กิโลเมตร จำนวน 55 ดวง
โคจร
อยู่
ภาย
ใน
บริเวณ Kuiper belt แล้ว
เช่น
กัน
จึง
เป็น
ว่าปรากฏการณ์
ที่
ดาว
ฤกษ์
เช่น
ดวง
อาทิตย์
ของ
เรา
มี
ดาว
เคราะห์ "เล็ก
" จำนวน
มาก
มาย
โคจร
รอบ
ตัว
มัน
เป็นปรากฏการณ์
ปกติ
ราย
งาน
ความ
รู้
จากสุริยจักรวาล
สำหรับ
วัน
นี้
มี
เพียง
แค่
นี้
ครับ
ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)