ทรายศาสตร

เราสามารถพบเห็นวัสดุที่เปšนเม็ดเล็กละเอียด เช‹น ทราย ผงกาแฟ ผงซักฟอก ผงพริกไทย ฯลฯ ไดŒทุก หนทุกแห‹ง และเราก็รูŒว‹าเศษธุลีเล็กๆ เหล‹านี้มีบทบาทและ ความสํ าคัญมากในชีวิตเรา แต‹คุณผูŒอ‹านอาจจะไม‹ เชื่อหู หากผมจะบอกว‹า นักฟสิกสเขŒาใจ และรูŒจักอิเล็กตรอน อะตอมหรือดาว ดียิ่งกว‹ากองทราย กองเกลือ และกองนํ้ าตาล
เราทุกคนรูŒว‹าเวลาเราเทวัสดุเม็ดเล็กๆ เช‹นทรายที่แหŒงสนิท มันจะมีสภาพเปšน ของเหลวที่ไหลต‹อเนื่อง แต‹ในขณะเดียวกัน หากเราตŒองการจะยืนหรือนั่งบนทราย เราก็ สามารถกระทําไดŒง‹าย เพราะมันมีสภาพเปšนของแข็ง หรือเวลาที่ทรายเป‚ยกชื้น แมŒแต‹ เพียงเล็กนŒอย เราก็สามารถป˜œนมันมาทํ าเปšนปราสาททรายไดŒ แต‹เราจะเดินบนนํ้ า หรือ ป˜œนนํ้าไม‹ไดŒเลย
ในช‹วงเวลา 10 ป‚ที่ผ‹านมานี้ นักวิทยาศาสตรไดŒทุ‹มเทศึกษาคุณสมบัติต‹างๆ ของทราย เช‹น พฤติกรรมของกองทรายในยามพายุพัด ผลที่เกิดเมื่อเราโรยทรายลงในกองทีละเม็ด หรือเทลง หลายเม็ดพรŒอมกัน แรงที่กระทํ าต‹อเม็ดทรายที่อยู‹ที่ตําแหน‹งต‹างๆ ในกอง เช‹นที่ล‹างสุดหรือที่ริมกอง เปšนตŒน
เราทุกคนอาจจะนึกว‹าการถูกฝ˜งทรายลึก 30 เมตร นั้น ทารุณยิ่งกว‹าการถูกฝ˜งทรายลึก 3 เมตร แต‹ความ จริงมีอยู‹ว‹า การถูกทรายอัดตายที่ระดับลึก 30 เมตรนั้นทารุณพอๆ กับการตายที่ระดับลึก 3 เมตร เพราะความ ดันที่กŒนบ‹อทราย ไม‹ขึ้นกับความลึกของบ‹อทรายเลย ซึ่งเรื่องนี้แตกต‹างจากกรณีของนํ้ าเพราะเวลาเราเทของ เหลวลงในภาชนะ เราทุกคนรูŒว‹าที่กŒนภาชนะมีความดันของของเหลว ซึ่งถŒาของเหลวมีปริมาณยิ่งมาก ความดัน ก็จะยิ่งสูง แต‹ในกรณีของทรายในภาชนะ ความดันที่ฐานของภาชนะไม‹ไดŒแปรโดยตรงกับความลึก โดยความดัน จะเพิ่มตามความลึก จนถึงระดับหนึ่งแลŒวความดันจะมีค‹าที่สุด ไม‹ว‹าเราจะใส‹ทรายอีกเพียงใด ความดันที่ฐานก็ จะไม‹เพิ่มอีกเลย และนี่ก็คือเหตุผลที่ว‹า เหตุใดนาฬิกาทราย จึงทํ างานไดŒค‹อนขŒางตรงเวลา เพราะเม็ดทรายจะ ไหลตกผ‹านคอคอดของนาฬิกาทรายในอัตราที่ “สมํ่ าเสมอ” ถึงแมŒปริมาณทรายในหลอดบนจะพร‹องไปมากก็ ตาม
H. Jaeger แห‹งมหาวิทยาลัย Chicago ในสหรัฐอเมริกา ไดŒอธิบายเหตุการณนี้ว‹าเปšน เพราะแรง ระหว‹างเม็ดทราย ไดŒเบี่ยงเบนนํ้ าหนักของเม็ดทรายมิใหŒกดลงตรงๆ แต‹จะเบนใหŒแรงพุ‹งไปกระทํ าที่ผนังของ ภาชนะแทน ดังนั้นผนังของภาชนะจึงรับแรงกดมากกว‹าฐานของภาชนะ Jager ยังพบอีกว‹าแรงๆ นี้มิไดŒกระทํ า อย‹างสมํ่ าเสมอที่เม็ดทรายทุกเม็ดในกอง แรง กระทํ าจะมากหรือนŒอยเพียงใดขึ้นกับตําแหน‹งที่เม็ดทรายนั้นๆ อยู‹
ฉันใดก็ฉันนั้น เพราะเราทุกคนคงเคยเห็นแลŒวว‹า เวลาเราเทนํ้ าตาลลงบนโตะ กองนํ้ าตาลมีลักษณะ เปšนกรวย ในการวัดความดันอันเกิดจากกองน้ำตาล ณ ตํ าแหน‹งต‹างๆ ที่ฐานกอง นักวิทยาศาสตรไดŒพบว‹า บริเวณที่ขอบกองนํ้าตาลเปšนตําแหน‹งที่ความดันมีค‹าสูงสุด หาใช‹ที่จุดศูนยกลางของฐานกองไม‹ และความดันจะ มีค‹ามาก หรือนŒอยขึ้นกับว‹าเราสรŒางกองขึ้นมาโดยโรยน้ำตาลลงทีละเม็ด หรือเทลงใหŒเปšนกองทีเดียว นักวิทยา ศาสตรหลายคนกําลังหาทางอธิบายเหตุการณ “ประหลาด” เช‹นนี้อยู่
หรือในกรณีการสรŒางปราสาททราย เราก็จะเห็นว‹าทรายที่แหŒง และทรายที่เป‚ยกจะมีคุณสมบัติที่แตกต‹าง กันมากมาย คือ ทรายเป‚ยกมักจะจับกันเปšนกŒอน แต‹ทรายแหŒงนั้นมักจะร‹วนเปšนเม็ด การที่เปšนเช‹นนี้เพราะเม็ด ทรายเป‚ยกมีนํ้าเคลือบทําใหŒเกิดแรงยึดเหนี่ยวระหว‹างเม็ดทราย
ในวารสาร Nature ฉบับวันที่ 19 เดือนมิถุนายน 2540 นี้ P. Schiffer แห‹งมหาวิทยาลัย Notre Dame ในสหรัฐอเมริกา ไดŒทดลองเคลือบเม็ดลูกป˜ดที่ทํ าดŒวย polystyrene ขนาดเสŒนผ‹าศูนยกลาง 0.8 มิลิเมตร โดยใชŒ นํ้ามัน เขาพบว‹าเมื่อเขาเคลือบนํ้ ามันจนหนา 0.00005 มิลิเมตร เม็ดลูกป˜ดสามารถก‹อตัวเปšนกองสูงไดŒ ใน อนาคตเขามีกําหนดศึกษาคุณสมบัติของทรายเป‚ยก ว‹าขึ้นกับ ปริมาณของของเหลวที่เคลือบเม็ดมันอย‹างไร
ส‹วน D. Goldsack แห‹งมหาวิทยาลัย Laurentian ในแคนาดา ก็กํ าลังสนใจว‹าเนินทรายในทะเลทราย ส‹งเสียงไดŒอย‹างไร จากการที่นักท‹องทะเลทรายรายงานว‹า ไดŒยินเสียงทรายรŒอง และหลายคนคิดว‹าเปšนเสียงของ ป‚ศาจในทะเลทรายรŒอง แต‹ป˜จจุบันนี้เราไดŒรูŒแลŒวว‹า เวลาเนินทรายส‹งเสียงที่ความถี่ระดับ baritone หรือ soprano นั้น เม็ดทรายเคลื่อนที่ แต‹นักวิทยาศาสตรก็ยัง ตกลงกันไม‹ไดŒว‹า การเคลื่อนที่ของทรายรูปแบบใดที่ทํ า ใหŒเราไดŒยินเสียงรํ่าไหŒของทะเลทราย
จะนํ้ าตาลทราย หรือจะกองทราย ก็น‹าสนใจ ถึงแมŒจะดูภายนอกแตกต‹างกันมาก แต‹โครงสรŒางภายในก็ เปšนคนละเรื่องเดียวกัน

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)