ควานหาคลื่นโน้มถ่วง
ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป (General Theory of Relatively) ของ Einstein เปšนทฤษฎีที่ประเสริฐที่สุด ทฤษฎีหนึ่งของฟสิกส เพราะทฤษฎีนี้ไดŒรับการตรวจสอบในหลายแง‹หลายมุมและไดŒใหŒผลการทํ านายตรงผล การทดลองทุกครั้งไปตลอดระยะเวลา 81 ป‚ที่ผ‹านมา แต‹มีปรากฏการณหนึ่งเดียวเท‹านั้นที่ทฤษฎีนี้ไดŒ พยากรณว‹ามีในธรรมชาติ และยังไม‹มีมนุษยใดในโลกไดŒพบหรือไดŒเห็นเลย ปรากฏการณที่ว‹านี้คือ คลื่นโนŒม ถ‹วง (gravitational wave) ซึ่ง Einstein ไดŒคํานวณพบว‹าจะเกิดขึ้นทุกครั้งที่วัตถุถูกแรงกระทํา เช‹น ถŒาเอาเรือ ดํานํ้าปรมาณูที่หนักประมาณ 10,000 ตันมาหมุนรอบจุดศูนยกลางมวลของมันใหŒเร็วจนกระทั่งเรือเกือบจะหัก กลาง Einstein ทํานายว‹าเรือลํานี้จะแผ‹คลื่นโนŒมถ‹วงที่มีกําลัง 10 (-24) วัตต (=0.000,000,000,000,000,000,000,001 วัตต) หากคุณผูŒอ‹านไม‹มี idea เลยว‹ากําลังที่ผมพูดถึงนี้กระจี๊ดแค‹ ไหน ผมก็ขอเรียนใหŒทราบว‹า มดที่ไต‹กําแพงธรรมดาจะใชŒกําลัง 10 (-7) วัตต และนั่นก็หมายความว‹าพลังงาน ของคลื่นโนŒมถ‹วงที่ถูกสรŒางออกมาจากเรือดํ านํ้ าปรมาณูที่กํ าลังหมุนติ้วอยู‹นั้นมีค‹านŒอยกว‹าพลังงานที่มดใชŒใน การไต‹กําแพงแสนลŒานลŒานเท‹า และนี่ก็คือเหตุผลว‹าเหตุใดนักฟสิกสจึงยังไม‹ประสบความสํ าเร็จในการเห็น หรือรับคลื่นโนŒมถ‹วงที่มีค‹านŒอยนิดเช‹นนี้เลย
ถึงกระนั้นนักฟสิกสทุกคนก็รูŒ และเชื่อมั่นว‹าคลื่นโนŒมถ‹วงมีจริง เราคงรูŒกันแลŒวว‹าเวลาเราเร‹งประจุไฟฟ‡า ประจุจะเปล†งคลื่นแม‹เหล็กไฟฟ‡า (แสง) ออกมา ฉันใดฉันนั้น Einstien ไดŒพบว‹าเวลาเร‹งสสารใดๆ สสารนั้นก็ จะเปล†งคลื่นโนŒมถ‹วงเช‹นกัน โดยปริมาณของคลื่นจะมากหรือนŒอยเพียงใดขึ้นกับความเร‹งและมวลของสสาร นั้นๆ หากความเร‹ง และมวลนŒอย คลื่นโนŒมถ‹วงที่จะแผ‹กระจายออกมาก็จะมีไม‹มาก แต‹ถŒาสสารมีความเร‹ง และมวลมากคลื่นโนŒมถ‹วงที่จะเกิดขึ้นก็จะมีค‹ามากดŒวย ดังนั้นในกรณีการวิ่ง 100 เมตรของ Carl Lewis ดŒวย มวลที่นŒอยและความเร‹งที่นŒอยเช‹นนี้ เราไม‹คาดหวังว‹าจะมีวันเห็นคลื่นโนŒมถ‹วงแผ‹กระจายจากตัว Lewis แต‹ใน กรณีของหลุมดํา (black hole) ที่มีมวลเปšนรŒอยลŒานเท‹าของดวงอาทิตย สองหลุมพุ‹งเขŒาชนกัน คลื่นโนŒมถ‹วงที่ เกิดขึ้นในกรณีนี้จะมีมากถึงระดับที่นักฟสิกสตรวจรับไดŒ เพราะเวลาคลื่นโนŒมถ‹วงเดินทางผ‹านอวกาศดŒวย ความเร็วแสงมากระทบวัตถุบนโลก วัตถุจะเปšนหลักฐานพิสูจนใหŒเรารูŒว‹าไดŒมีคลื่นโนŒมถ‹วงมากระทบวัตถุนั้นแลŒว
ในป‚ พ.ศ. 2517 J. Taylor และ R. Hulse สองนักฟสิกส แห‹งมหาวิทยาลัย Princeton ในสหรัฐอเมริกา ไดŒศึกษาดาวสองดวงที่มีชื่อรหัสว‹า PSR 1913 + 16 ดาวทั้งสองดวงนั้นโคจรรอบกันและกันเปšนวงกลม โดย ดาวดวงหนึ่งเปšนดวง pulsar (pulsar เปšนดาวประเภทหนึ่งที่มีความหนาแน‹นสูง และหมุนรอบตัวเองเร็วมาก แมŒมันจะมีขนาดเล็กมาก คือ มีเสŒนผ‹าศูนยกลางยาวเพียง 2-3 กิโลเมตร แต‹มันมีมวลมากเท‹าดวงอาทิตย เอกลักษณที่สําคัญของ pulsar คือมันสามารถแผ‹คลื่นแม‹เหล็กไฟฟ‡าไดŒ ดังนั้นเวลามันหมุน ลํ าคลื่นแม‹เหล็ก ไฟฟ‡า (แสง) จะถูกกวาดออกไปในอวกาศคลŒายจากประภาคารใหŒเรือเดินทะเลเห็น ถึงแมŒคลื่นแม‹เหล็กไฟฟ‡า หรือ แสงที่ pulsar ส‹งออกมานี้จะสมํ่าเสมอก็ตาม แต‹เวลาที่ Hulse และ Taylor สังเกตดูแสงนี้เขาไดŒเห็นจังหวะคลื่นที่ไม‹ สมํ่ าเสมอเลย ทั้งนี้เพราะดาว pulsar มิไดŒอยู‹นิ่งแต‹เคลื่อนที่รอบ ดาวอีกดวงหนึ่ง Hulse และ Taylor ไดŒอาศัยความแปรปรวนที่ สังเกตไดŒนี้คํานวณรัศมีวงโคจรของดาวทั้งสอง และเวลาที่ดาว ใชŒในการโคจรไปครบหนึ่งรอบไดŒอย‹างระเอียดยิบ โดยเขาไดŒพบว‹าในช‹วงป‚ พ.ศ. 2517-2536 นั้นเวลาในการ โคจรครบหนึ่งรอบของดาวทั้งสองไดŒลดลงเท‹ากับ 0.000,075 วินาที/ป‚ นักฟสิกสทั้งสองยังพบอีกว‹าดาวทั้งสอง นี้จะโคจรเขŒาใกลŒกันตลอดเวลาโดยมีวงโคจรเล็กลงๆ และจะชนกันในอีก 300 ลŒานป‚ และเมื่อชนกันนั้นแสงที่ แผ‹ออกมาจะสว‹างเท‹ากับกาแล็กซี่หนึ่งแสนกาแล็กซี่ทีเดียว แต‹เนื่องจาก PSR 1913+16 อยู‹ไกลจากโลกเรา มาก แสงสว‹างที่มาถึงโลกเราจะมีไม‹มากนัก แต‹ถŒาเปšนกรณีหลุมดํ าชนกัน ฟ‡ากลางคืนบนโลกจะสว‹างไสว เหมือนกลางวันทีเดียว ความสํ าเร็จของการสังเกตเห็นนี้ทําใหŒ Hulse และ Taylor ไดŒรับรางวัลโนเบลสาขา ฟสิกสประจําป‚ 2536 แต‹สิ่งที่ Hulse และ Taylor เห็นจริงๆ แลŒวเปšนหลักฐานยืนยันว‹าคลื่นโนŒมถ‹วงมีจริงโดย ทางอŒอม คือเขาเห็นวิถีการโคจรของ pulsar ที่เปšนเกลียวกŒนหอย แลŒวอธิบายว‹าเกิดจากการที่ pulsar เปล่ง คลื่นโนŒมถ‹วงออกไป Hulse และ Taylor หาไดŒเห็นคลื่นโนŒมถ‹วงอย‹างจะๆ ไม‹
ถึงแมŒการทดลองตรวจรับคลื่นโนŒมถ‹วง จะเปšนการทดลองที่ยากปานงมเข็มในมหาสมุทรก็ตาม นัก ฟสิกสก็ยังมุ‹งมั่นที่จะคŒนหามัน เพราะถŒาคลื่นชนิดนี้ไดŒรับการพิสูจนว‹ามีจริงทฤษฎีสัมพัทธภาพที่ ใครทุกคน ศรัทธาก็จะเปšนที่ยินยอมนŒอมรับอย‹างสุดหัวใจทันที นอกจากนี้การตรวจรับคลื่นไดŒจะเปดประตูใหŒนักฟสิกสรูŒ จักธรรมชาติลึกซึ้งและดียิ่งขึ้น เพราะคลื่นโนŒมถ‹วงที่ส‹งมาจากหลุมดํ า หรือจากดาวนิวตรอนจะมีคุณสมบัติที่ ไม‹เหมือนกัน
นักฟสิกสจึงไดŒพยายามสรŒางเครื่องมือ ที่สามารถตรวจรับคลื่นชนิดนี้มาเปšนเวลานานนับไดŒ 34 ป‚แลŒว แต‹ก็ยังไม‹ประสบความสําเร็จใดๆ เพราะเครื่องมือที่สามารถรับคลื่นไดŒตŒองสามารถเห็นการเปลี่ยนแปลงของ สสารไดŒละเอียดถึง 0.000,000,000,000,000,000,01 % เช‹น สมมติว‹ามีดาวดวงหนึ่งยุบตัว และดาวดวงนั้น อยู‹ในกาแล็กซี่ทางชŒางเผือกของเรา คลื่นโนŒมถ‹วงที่แผ‹ออกจากดาวดวงนั้น เมื่อมาถึงโลกจะทํ าใหŒความสูงของ คนเปลี่ยนไป 0.000,000,000,0001 เมตร เครื่องมือวัดความสูงของคนจะตŒองอ‹านไดŒละเอียดถึงเพียงนั้นเราจึง จะสรุปไดŒว‹าร‹างกายคนไดŒรับคลื่นโนŒมถ‹วงแลŒว
ในป‚ พ.ศ. 2508 J. Weber แห‹งมหาวิทยาลัย Maryland ในสหรัฐอเมริกาไดŒเปšนผูŒบุกเบิกการทดลอง เรื่องนี้ โดยใชŒแท‹งอลูมิเนียมทรงกระบอกที่ยาว 2 เมตร และมีเสŒนผ‹าศูนยกลางยาว 0.5 เมตร เพื่อตรวจรับคลื่น โนŒมถ‹วงที่มาตกกระทบ หากคลื่นโนŒมถ‹วงมีความถี่เท‹าความถี่ของแท‹งอลูมิเนียม แท‹งอลูมิเนียมก็จะสั่นไหว มาก หากคลื่นโนŒมถ‹วงมีความถี่ต‹างไป แท‹งอลูมิเนียมก็จะไม‹สั่นไหวมากเลย ทุกคนจึงแปลกใจว‹าเหตุใด Weber ไม‹ประสบความสําเร็จใดๆ
มีวิธีใหม‹ที่นักฟสิกสกําลังนิยมใชŒ ในการตรวจหาคลื่นโนŒมถ‹วง คือ ใชŒเลเซอร (laser) โดยวิธีปล†อยแสง เลเซอรออกมาใหŒไปกระทบแผ‹นแกŒวแยกแสง เมื่อแสงเลเซอรถูกแบ‹งแยกออกเปšนสองส‹วนในแนวตั้งฉากกัน แลŒว เขาจะใหŒแสงทั้งสองส‹วนไปกระทบกระจกสะทŒอนแสง จากนั้นแสงที่สะทŒอนกลับจากกระจกจะถูกส‹งมา รวมกันที่จอ หากระยะทางที่แสงทั้งสองส‹วนต‹างกันเท‹ากับครึ่งหนึ่งของความยาวคลื่นแสงเลเซอรที่ใชŒ เราก็จะ เห็นริ้วมืดริ้วสว‹างปรากฏบนจอ นักฟสิกสหวังว‹าเวลา คลื่นโนŒมถ‹วงจากฟ‡าพุ‹งมากระทบอุปกรณนี้ ซึ่งมีชื่อเรียก ว‹า LIGO ( Laser Interferometer Gravitational-Wave Observatory) แขนขŒางหนึ่งของอุปกรณจะยืดออก เล็กนŒอยและแขนอีกขŒางจะหดตัวเล็กนŒอย ระยะทางที่แตกต‹างกันนี้จะทํ าใหŒเห็นการเคลื่อนที่ของริ้วมืดริ้วสว‹าง บนจอ สหรัฐอเมริกาจะสรŒางอุปกรณ LIGO ที่เมือง Hanford ในรัฐ Washington และที่เมือง Livingston ใน รัฐ Louisiana โดยมีแขนแต‹ละขŒางของเครื่องยาว 4 กิโลเมตร อิตาลีกํ าลังสรŒาง LIGO ที่มีแขนยาว 3 กิโลเมตร ที่ Pisa เยอรมันนีกําลังสรŒาง LIGO แขนยาว 600 เมตร ที่Hanover และญี่ปุ†นก็ กํ าลังสรŒาง LIGO แขนยาว 300 เมตรที่ Tokyo
การแข‹งขันเห็นคลื่นโนŒมถ‹วงของ Einstein ไดŒเริ่มตŒนแลŒว และใครก็ตามที่ประสพความสํ าเร็จเปšนคน แรกก็จะไดŒรับรางวัลโนเบลสาขาฟสิกสชัวรๆ ครับ

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)