สำรวจดาวพลูโต
วันที่ 18 กุมภาพันธ พ.ศ. 2473 นับเปšนวันสําคัญวันหนึ่งของวงการดาราศาสตร เพราะในคืนวัน นั้น Clyde Tombaugh ซึ่งทํางานประจําอยู‹ที่หอดูดาว Lovell ในรัฐ Arizona ของสหรัฐอเมริกาไดŒเห็น ดาวเคราะหดวงที่ 9 ของสุริยจักรวาล
50 ป‚หลังจากที่เรารูŒว‹า ดาวพลูโตเปšนดาวบริวารดวงหนึ่งของดวงอาทิตย ไดŒมีการประชุมนานาชาติ เรื่องดาวพลูโตที่ New Mexico State University งานประชุมครั้งนั้นใชŒเวลาเพียง 1 วันก็เลิก เพราะในสมัยนั้นไม‹มีใครรูŒขŒอมูลอะไรๆ ที่เกี่ยวกับดาวพลูโตมากเลย
มาบัดนี้ นักวิทยาศาสตรไดŒรูŒธรรมชาติของ ดาวพลูโตมากขึ้นจากเดิมหลายแสนเท‹า แต‹ กระนั้นทุกคนก็ตระหนักดีว‹าที่ว‹ารูŒนั้น แทŒจริงก็ยัง ไม‹รูŒไม‹เพียงพอเลย ป˜จจุบันเรารูŒว‹าพลูโต เปšนดาวเคราะหดวงที่เล็กที่สุด และเย็นที่สุดของสุริยจักรวาล ดาวดวงนี้ มีเสŒนผ‹าศูนยกลางยาว 2,280 กิโลเมตร และมีนํ้ าหนักเพียง 0.2% ของโลกเท‹านั้นเอง อุณหภูมิที่ผิว ดาวโดยเฉลี่ยเย็นประมาณ -235 องศาเซลเซียส พลูโตมีดวงจันทรเปšน บริวารเพียงดวงเดียว ชื่อ Charon ตามปกติพลูโตจะอยู‹ไกลจากดวงอาทิตยมากที่สุด แต‹จากการที่วงโคจรของมันเปšนวงรีมาก ไดŒทํ าใหŒใน ระหว‹างป‚ พ.ศ. 2522-2542 ดาวพลูโตอยู‹ใกลŒดวงอาทิตยมากกว‹าดาวเนปจูนเสียอีก ดาวพลูโตใชŒเวลานาน 248 ป‚ ในการโคจรรอบดวงอาทิตยหนึ่งรอบ และนั่นก็หมายความว‹านับตั้งแต‹วันที่ Tombaugh เห็นดาว พลูโตแลŒว พลูโตก็ยังโคจรไปไม‹ครบรอบดวงอาทิตยเลย เพราะเหตุว‹าดาวดวงนี้อยู‹ไกลจากโลกมากจึงทํ าใหŒ ดาวพลูโตไดŒรับ "เกียรติ" ว‹าเปšนดาวเคราะหดวงเดียวเท‹านั้นที่ NASA ยังไม‹เคยส‹งยานไปสํ ารวจเลย
ถึงอย‹างไรก็ตาม ภาพของดาวพลูโตที่กลŒองโทรทัศน Hubble ไดŒถ‹ายไวŒแสดงใหŒเห็นว‹า พลูโตโคจร รอบตัวเองหนึ่งรอบโดยใชŒเวลานาน 6 วัน 9 ชั่วโมง และขั้วของดาวนั้นสว‹างสดใส แต‹บริเวณเสŒนศูนยสูตร จะทึบกว‹า นักวิทยาศาสตรหลายคนคิดว‹าพื้นผิวของดาว คงถูกกาซ methane ที่ไดŒกลายเปšนนํ้ าแข็งไปหมด แลŒวปกคลุม นอกจากนี้ นักดาราศาสตรยังไดŒสังเกตเห็นว‹าบนดาวพลูโตมีบรรยากาศอีกดŒวย ซึ่งบรรยากาศ นี้คงจะเกิดจากการกลั่นตัวของกาซบนพลูโตเปšน หิมะตกลงสู‹ผิวดาว ขณะดาวโคจรถอยห‹างจากดวงอาทิตย ไป แต‹เมื่อมันโคจรเขŒาใกลŒดวงอาทิตยอีก นํ้ าแข็งบนดาวก็จะระเหยขึ้นไปเปšนบรรยากาศของดาวพลูโตอีก วาระหนึ่ง
ขŒอมูลของดาวพลูโตที่ไดŒ ทําใหŒนักวิทยาศาสตรประหลาดใจมีมากมาย เช‹น การที่ดาวพลูโตมีวงโคจร เปšนวงรีมาก เพราะตามปกติแลŒวดาวเคราะหวงนอก (เช‹น ดาวเนปจูน ยูเรนัส เสาร และพฤหัสบดี) ทุกดวงมี วงโคจรรอบดวงอาทิตยที่เกือบจะเปšนวงกลม แต‹วงโคจรของพลูโตนั้นรีมาก โดยมีระยะใกลŒสุด 4,500 ลŒาน กิโลเมตรและไกลสุด 7,500 ลŒานกิโลเมตร นอกจากคุณสมบัติดŒานความรีแลŒว ระนาบการโคจรของดาว พลูโตก็เอียงทํามุมถึง 17 0 กับระนาบการโคจรของดาวเคราะหดวงอื่นๆ ทั้งสุริยจักรวาลอีก
การศึกษาขนาดของดาวพลูโต โดยกลŒองโทรทัศนบนโลกก็เปšนเรื่องที่ทําไดŒยาก เพราะแสงจากดาว เมื่อ ผ‹านชั้นบรรยากาศของโลกจะหักเห ทํ าใหŒดาวพลูโตดูมีขนาดใหญ‹กว‹าความเปšนจริง และเมื่อบรรยากาศของ โลกมีการแปรปรวนดŒวยอิทธิพลของฝน พายุ และเมฆ การรูŒขนาดที่ถูกตŒองของดาวที่มีขนาดเล็กมากเช‹น พลูโตก็เปšนเรื่องยิ่งยาก กลŒองโทรทัศน Hubble ไดŒทํ าใหŒเรารูŒว‹า พลูโตมีเสŒนผ‹าศูนยกลางที่ยาวประมาณ 2,300 กิโลเมตร ซึ่งนับว‹าเล็กกว‹าดวงจันทรของโลกเราเสียอีก
นักวิทยาศาสตรเริ่มรูŒจักดาวพลูโตมากขึ้นเมื่อประมาณ 20 ป‚มานี้เอง คือเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2522 J. W. Christy แห‹งหอดูดาว U.S. Naval Observatory ไดŒพบว‹าพลูโตมีดวงจันทรเปšนบริวาร หนึ่งดวงชื่อ Charon โดย Christy ไดŒสังเกตเห็นว‹าภาพของดาวพลูโตที่เขาถ‹ายนั้นไม‹เคยกลมเลยคือ มีปุ†มนูน และปุ†มนูนนี้จะเปลี่ยนตํ าแหน‹งบนดาวตลอดเวลา โดยจะกลับมาปรากฏที่เดิมทุกๆ 6.4 วัน Christy จึง วิเคราะหขŒอมูลและภาพถ‹ายที่ไดŒแลŒวสรุปว†า ดวงจันทรของดาวพลูโตที่เขาเห็นนี้มีขนาดใหญ‹พอๆ กับดาว พลูโต และเมื่อเวลาที่ดวงจันทร Charon โคจรไปรอบพลูโตนั้นเท‹ากับเวลาที่พลูโตหมุนรอบตัวเอง ดังนั้น Charon จะปรากฏเหนือฟ‡าบนดาวพลูโตเสมือนไม‹ยŒายตํ าแหน‹งเลย ไม‹ว‹าวันเวลาจะผ‹านไปนานเพียงใดก็ ตาม เหตุการณดวงจันทรไม‹เคยคลŒอยเคลื่อนเลยเช‹นนี้ ถือว‹าเปšนเอกลักษณที่ไม‹มีดาวดวงใดเหมือนทั้งสุริย จักรวาล สํ าหรับชื่อ Charon นั้น ประเพณีการตั้งชื่อดาวไดŒถือว‹าในฐานะที่ Christy เปšนบุคคลแรกที่เห็น ดาวบริวารของพลูโต เขาจึงมีสิทธิเสนอชื่อและเขาไดŒตัดสินใจเรียกมันว‹า Charon ตามชื่อของภริยาเขาที่มี นามว‹า Charlene และตามชื่อของเทพยดา Charon ผูŒมีหนŒาที่พายเรือนํ าวิญญาณของบุคคลที่ตายแลŒว ขŒามแม‹นํ้ าชื่อ Styx ไปยมโลกที่มียมบาลชื่อ Pluto ปกครอง
การพบ Charon ไดŒทํ าใหŒนักวิทยาศาสตรรูŒนํ้าหนักที่แทŒจริงของพลูโตดี เพราะเหตุว‹า ดาวทั้งสองดวง นี้มีนํ้าหนักใกลŒเคียงกัน การศึกษาเวลาการโคจรรอบกันและกัน ทํ าใหŒเรารูŒว‹านํ้าหนักรวมของพลูโต และ Charon นั้นคิดเปšน 0.25% ของนํ้ าหนักโลก และพลูโตนั้นมีความหนาแน‹นประมาณ 2 เท‹า ของ นํ้ าเท‹านั้นเอง
นักดาราศาสตรยังสังเกตเห็นอีกว‹า ถึงแมŒจะเปšนดาวเคราะหคู‹กัน แต‹ผิวของ Charon นั้นมืดครึ้มกว‹า ผิวของดาวพลูโต ซึ่งประเด็นความแตกต‹างนี้ นักวิทยาศาสตรสันนิษฐานว‹า คงเปšนเพราะ Charon ไม‹มี บรรยากาศเลย แต‹พลูโตนั้นมีบรรยากาศบŒาง แต‹สํ าหรับเหตุผลที่ผิวของพลูโตสว‹างไสวราว 7 เท‹า ของผิว ดวงจันทรนั้น S.A. Sten แห‹งมหาวิทยาลัย Colorado ในสหรัฐอเมริกาไดŒใหŒเหตุผลว‹า เกิดจากการมีวง โคจรที่รีมาก ทํ าใหŒมันมีอุณหภูมิที่ผิวแตกต‹างกันมาก โดยในป‚ พ.ศ. 2532 ที่ผ‹านมานี้พลูโตไดŒโคจรเขŒามา ใกลŒดวงอาทิตยมากที่สุด และขณะนี้มันกํ าลังโคจรถอยห‹างออกไป ในอีก 20-40 ป‚ บรรยากาศบนดาวที่มี กาซ methane จะแข็งตัวหมดหิมะที่ทํ าดŒวย methane นี้ จะตกปกคลุม ผิวทํ าใหŒพลูโตสะทŒอนแสงไดŒดีและ นานจนกระทั่งพลูโตโคจรเขŒาหาดวงอาทิตยอีกครั้งหนึ่ง
จากความรูŒเรื่ององคประกอบของพลูโตที่เปšนหิน และนํ้าแข็งนั้น ไดŒทํ าใหŒนักวิทยศาสตรส‹วนใหญ‹เชื่อว‹า ดาวพลูโตเปšนดาวที่ถือกําเนิดนอกสุริยจักรวาล แต‹ไดŒโคจรหลงเขŒามาแลŒวถูกดวงอาทิตยดึงดูดไวŒเปšนดาว บริวาร ส‹วน Charon นั้น ถือกํ าเนิดเมื่อพลูโตขณะก‹อตัวไดŒถูกดาวเคราะหนŒอยอีกดวงพุ‹งมาชน จนชิ้นส‹วนของมันกระเด็นไปรวมตัวกันเปšน Charon
หนทางเดียวที่เราจะรูŒธรรมชาติที่แทŒจริง ของพลูโตคือตŒองส‹งยานอวกาศไปสํารวจ ป˜จจัยเรื่องเวลาใน การเดินทางและเวลาที่จะใชŒในการสํารวจมันตŒองเหมาะสม ถŒาเรายิงจรวดที่จะไปสํ ารวจพลูโตใหŒมีความเร็ว สูง เวลายานอวกาศเดินทางถึงพลูโต ยานจะมีความเร็วสูงดŒวย และนั่นก็หมายความว‹ามันจะโคจรผ‹าน พลูโตในแวบเดียว และภาพที่ถ‹ายไดŒจะมีคุณภาพไม‹ดี แต‹ถŒาจรวดมีความเร็วนŒอย การเดินทางจะตŒองใชŒเวลานาน จรวดที่ใชŒในการเดินทางจะตŒอง ทํ างานอย‹างไม‹บกพร‹อง แต‹ส‹วนดีก็คือ เมื่อยานอวกาศเดินทาง ผ‹านพลูโต ยานจะมีเวลาที่จะสํ ารวจเหลือเฟ„อ
NASA ไดŒกํ าหนดจะส‹งยานอวกาศ 2 ลํ าไปสํ ารวจพลูโตในตŒนศตวรรษหนŒานี้ โดยจะใหŒยานเดินทาง นาน 14 ป‚ การส‹งยาน 2 ลํ าจะทําใหŒเรามั่นใจว‹าอย‹างนŒอยก็มียานหนึ่งลํา ที่จะประสบความสํ าเร็จและ ราคาค‹าก‹อสรŒางยาน 2 ลํ าก็ไม‹ไดŒมากกว‹าโสหุŒยยานลําเดียวนัก และถŒายานทั้งสองเดินทางถึงพลูโตอย‹าง เรียบรŒอยในเวลาต‹างกัน นักวิทยาศาสตรก็จะมีขŒอมูลฤดูต‹างๆ บนดาวพลูโตว‹าแตกต‹างกันอย‹างไรอีกดŒวย
การสํารวจดาวพลูโตคงเปšนภาระกิจ การสํารวจดาวเคราะหของสุริยจักรวาลชิ้นสุดทŒาย จากความรูŒที่เรา ไดŒสั่งสมมา เราก็ไดŒเห็นแลŒวว‹าดาวเคราะหแต‹ละดวงนั้นมีลักษณะ และคุณสมบัติที่ไม‹เหมือนกันเลย ดังนั้น เราก็อาจกล‹าวไดŒว‹า ความคาดหวังที่เราจะไดŒ จากการสํ ารวจพลูโตอีก 2 ทศวรรษหนŒานี้ คือ เราจะเห็นอะไร ต‹อมิอะไรที่เราไม‹เคยคาดหวังว‹ามันจะมีหรือเปšนไปไม‹ไดŒอย‹างแน‹นอน

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)