ดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดี
Laplace คือนักวิทยาศาสตรคนแรกของโลกที่ไดŒเสนอความคิดว‹า เมื่อประมาณ 46,000 ลŒานป‚มา แลŒว ขณะที่ดาวเคราะหต‹างๆ ที่เปšนบริวารของดวงอาทิตยยังไม‹มี ไดŒมีกลุมกาซรŒอนกลุ‹มหนึ่งที่หมรุนรอบตัว เองเร็วจนทําใหŒมันมีรูปร†างแบนเหมือนจาน และจากการที่กลุ‹มกาซรŒอนนี้เย็นตัวลงไดŒทํ าใหŒกาซบางส‹วนจับ ตัวแข็งเปšนกŒอนอุกกาบาตที่มีขนาดใหญ‹เล็กต‹างๆ กัน โดยอาศัยแรงดึงดูดระหว‹างมวล กŒอนอุกกาบาตใหญ‹ เล็กเหล‹านี้ไดŒดึงดูดกาซที่เหลือเขŒามารวมตัวกับมันจนกลายเปšนดาวเคราะห และดวงจันทรถึงแมŒทฤษฎีที่เปšนที่ ยอมรับกันในหลักการหยาบๆ นี้ จะมีอายุร‹วม 200 ป‚ก็ตาม แต‹รายละเอียดของขั้นตอนการจุติของดาว เคราะหในสุริยจักรวาล ยังเปšนเรื่องที่ไม‹มีขŒอสรุป เพราะขŒอมูลที่นักวิทยาศาสตรไดŒจากการสํ ารวจสุริย จักรวาล โดยกลŒองโทรทรรศนและยานอวกาศต‹างๆ ในช‹วงเวลา 30 ป‚ที่ผ‹านมานี้ ไดŒแสดงใหŒเห็นธรรมชาติ ของดาวเคราะหทั้ง 9 ดวงและดวงจันทร 61 ดวงว‹าไม‹เหมือนกันเลยทั้งๆ ที่ดาวเหล‹านี้จุติมาจากกาซรŒอนกลุ‹มเดียวกัน
ณ วันนี้ นักวิทยาศาสตรส‹วนมากไดŒยอมรับเพิ่มเติมว‹า กระบวนการเย็นตัวของกาซเพียงกระบวนการ เดียวไม‹สามารถสรŒางสุริยจักรวาลใหŒมีรูปร†างอย‹างที่เปšนอยู‹ในทุกวันนี้ไดŒ เพราะเมื่อนักวิทยาศาสตรไดŒเห็นผิว ของดวงจันทร ดาวพุธ ดาวศุกร และดาวอังคารมีหลุมอุกกาบาตมากมาย สภาพเช‹นนี้ไดŒชี้ใหŒนักวิทยา ศาสตรเห็นว‹ากระบวนการชนกันหรือปะทะกันระหว‹างดาว เช‹น ดาวหางกับดาวเคราะห หรืออุกกาบาตกับ ดวงจันทร เปšนอีกกระบวนการหนึ่งที่มีบทบาทในการสรŒางสุริยจักรวาล และเมื่อนักวิทยาศาสตรไดŒสรŒาง สถานการณจําลองในคอมพิวเตอร ผลการคํ านวณแสดงใหŒเห็นว‹า เมื่อกลุ‹มกาซรŒอนเย็นตัวลงในเวลาเพียง 1 ลŒานป‚เท‹านั้นเอง ก็ไดŒมีวัตถุแข็งที่มีเสŒนผ‹าศูนยกลาง 1 กิโลเมตรปรากฏตัวในกาซรŒอน และเมื่อเวลาผ‹านไป อีกนาน 50 ลŒานป‚ วัตถุแข็งเหล‹านั้นไดŒเริ่มชนกันและรวมตัวกันเปšนวัตถุขนาดใหญ‹ พรŒอมกับส‹งแรงโนŒมถ‹วง ไปดึงดูดกาซรŒอนที่ยังหลงเหลืออยู‹ใหŒไปรวมตัวกับมัน นี่คือเสŒนทาง กำเนิดดาวพุธ ดาวศุกร และดาวอังคารที่ เราเขŒาใจ ส‹วนกาซที่อยู‹ไกลจากดวงอาทิตยมากเปšนกาซเบา เช‹น ไฮโดรเจนจึงไม‹ประสบความ สํ าเร็จในการ แข็งตัว ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร ฯลฯ ถือ กํ าเนิดจากการรวมตัวของกาซที่เบาเหล‹านี้ และสำหรับกระบวน การชนกันนั้น นักวิทยาศาสตรไดŒขŒอมูลจากการสังเกตเห็นแกนของดาวมฤตยูเอียงทับระนาบการโคจรของมัน รอบดวงอาทิตย (แกนของโลกเอียงทํ ามุม 23.5o กับแนวดิ่ง) ดังนั้น เมื่อใชŒขŒอมูลขนาดและมวลของดาว มฤตยู นักวิทยาศาสตรก็รูŒว‹า เมื่อดาวมฤตยูเริ่มถือกํ าเนิดใหม‹ๆ นั้น ไดŒมีดาวเคราะหดวงหนึ่งที่มีขนาดใหญ‹ เท‹าโลก ไดŒพุ‹งชนดาวมฤตยู ทํ าใหŒมันตŒองนอนตะแคงตัวหมุนไปรอบๆ ดวงอาทิตย
และดวงจันทรของโลกก็เช‹นกัน นักดาราศาสตรไดŒคํ านวณพบว‹า ในขณะที่องคประกอบของโลกยังมิ ไดŒเปšนหินแข็ง เมื่อ 500 ลŒานป‚ก‹อนนี้ ไดŒมีดาวเคราะหดวงหนึ่งที่มีขนาดใหญ‹เท‹าดาวอังคารพุ‹งชนโลก และ หลังจากการชนกันแลŒวชิ้นส‹วนต‹างๆ ที่แตกกระจายไดŒมารวมตัว ควบแน‹นเปšนดวงจันทรของโลกในที่สุด
เหตุการณดาวหาง Shoemaker-Levy 9 พุ‹งชนดาวพฤหัสบดีเมื่อ 3 ป‚ก‹อนนี้ก็เปšนหลักฐานใหŒเรารูŒว‹า ดาวพฤหัสบดีเปšนดาวที่มีความสําคัญต‹อสิ่งมีชีวิตบนโลกมาก เพราะถŒาไม‹มีดาวพฤหัสบดีทํ าหนŒาที่ปกป‡อง โลกใหŒพŒนจากการพุ‹งชนโดยดาวหางแลŒว สิ่งมีชีวิตชั้นสูงบนโลกก็ไม‹มีวันจะอุบัติบนโลกไดŒเลย
แต‹สุริยจักรวาลก็มิใช‹ว‹าจะมีแต‹ดาวเคราะหเท‹านั้น สุริยจักรวาลยังมีดวงจันทรเปšนบริวารของดาว เคราะหต‹างๆ อีกอย‹างนŒอย 61 ดวง นักดาราศาสตรไดŒพบว‹า ดวงจันทรเหล‹านี้ หลายดวงน‹าสนใจ ยิ่งกว‹า ดาวเคราะหที่มันโคจรอยู‹รอบๆ หลายพันเท‹า เพราะดวงจันทรบางดวงมีมหาสมุทร บางดวงมีภูเขาไฟที่กํ าลัง มีชีวิตอยู‹และบางดวงมีบรรยากาศ ซึ่งดาวเคราะหอื่นๆ (นอกจากโลก) ไม‹มีภูเขาไฟ มหาสมุทรหรือ บรรยากาศเลยและบัดนี้นักวิทยาศาสตรก็มีหลักฐานที่ชี้บอกใหŒเรารูŒเพิ่มเติมว‹า ดวงจันทรบางดวงมีสิ่งมีชีวิต ดŒวย
เพราะขณะนี้ยานอวกาศชื่อ Galileo ซึ่งไดŒถูกส‹งไปโคจรรอบดาวพฤหัสบดีมานาน 3 ป‚แลŒวไดŒราย งานว‹า ขณะที่ยานโคจรผ‹านใกลŒดวงจันทรที่ชื่อ Europa ของดาวพฤหัสบดี ยานไดŒถ‹ายภาพพื้นผิวของ Europa และพบว‹าพื้นผิวดวงจันทรนี้มีนํ้ าแข็งปกคลุมอุปกรณวิทยาศาสตรบนยานยังไดŒตรวจพบว‹าที่ใตŒนํ้ า แข็งนั้นมีมหาสมุทรอีกดŒวย
Europa เปšนดวงจันทรที่มีขนาดเล็กที่สุดในบรรดาดวงจันทร 4 ดวงที่ Galileo ไดŒเห็นเปšนครั้งแรก เมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2153 ดาวดวงนี้มีเสŒนผ‹าศูนยกลางยาว 3,130 กิโลเมตร และมหาสมุทรใตŒดาวดวงนี้ มีนํ้ าลึกถึง 100 กิโลเมตร มหาสมุทรนี้จึงเปšนมหาสมุทรแรกที่มนุษย พบ นับตั้งแต‹ Balboa ไดŒเห็นมหาสมุทร Pacific เมื่อ 500 ป‚มาแลŒว นักวิทยาศาสตรมีความใคร‹รูŒว‹า นํ้ า หรือความรŒอนที่ทําใหŒนํ้าแข็งหลอมเหลวเปšนนํ้าทะเลนั้นมาจากไหน และถŒานํ้ ามีจริง ชีวิตบนดวงจันทรดวงนี้ ควรจะมีรูปลักษณใด
การไดŒขŒอมูลที่น‹าตื่นเตŒนเช‹นนี้จากดวงจันทร Europa ไดŒทํ าใหŒ NASA ตัดสินใจยืดเวลาการทํ างาน ของยานอวกาศ Galileo ไปอีก จนกระทั่งถึงปลายป‚หนŒาโดยกํ าหนดใหŒยานโคจรผ‹าน Europa ในระยะใกลŒ อีก 8 ครั้ง เพื่อถ‹ายรูป และวัดสนามแม‹เหล็กของดวงจันทรดวงนี้เพิ่มเติม NASA คาดหวังว‹า ที่ระดับ ความสูง 300 กิโลเมตร กลŒองถ‹ายภาพบนยานคงจะสามารถเห็นวัตถุทุกชนิดที่มีขนาดใหญ‹ กว‹ารถเกŽงไดŒหมด
NASA ยังไดŒกํ าหนดใหŒยาน Galileo โคจรผ‹านใกลŒดวงจันทรที่ชื่อ Callisto 4 ครั้ง อันดวงจันทร Callisto นั้นมีเสŒนผ‹าศูนยกลางยาว 4,810 กิโลเมตร และโคจรอยู‹ไกลดาวพฤหัสบดีที่สุด เมื่อเปรียบเทียบ กับ Europa Io และ Ganymede จากการที่ดาวดวงนี้โคจรอยู‹ไกลจากดาวพฤหัสบดี มาก มันจึงถูกแรงดึงดูดจากดาวพฤหัสบดีกระทํานŒอยที่สุด
ในวารสาร Nature ฉบับวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 K.K. Kurana ไดŒ รายงานว‹า บนดวงจันทร Callisto ก็มีมหาสมุทรใตŒดาวเหมือนกัน
นอกจาก Callisto และ Europa แลŒว NASA ยังไดŒกํ าหนดใหŒยาน Galileo โคจรผ‹านใกลŒดวง จันทรที่ชื่อ Io ของดาวพฤหัสบดีดŒวย อีก 2 ครั้งเพื่อถ‹ายภาพภูเขาไฟที่กํ าลังระเบิดอยู‹บนดาวดวงนี้
Io มีเสŒนผ‹าศูนยกลาง 3,642 กิโลเมตร เปšนดวงจันทรดวงเดียวของสุริยจักรวาลที่มีภูเขาไฟที่มีชีวิตอยู‹ และภูเขาไฟนั้นมีความสูงถึง 10 กิโลเมตร การพบภูเขาไฟบนดวงจันทรดวงนี้ เปšนเรื่องที่ทํ าใหŒทุกคนประหลาดใจมาก เพราะดวงจันทรดวงนี้มี ขนาดเล็ก และสํ าหรับดาวทุกดวงที่มีขนาดเล็ก ภูเขาไฟบนดาว ควรจะดับชีวิตจากการเย็นตัวไปหมดแลŒว แต‹หินและดินบนดวง จันทร Io นั้น ไดŒถูกแรงดึงดูดที่มหาศาลของดาวพฤหัสบดีดึงดูด จนทําใหŒเกิดความเครียดในชั้นหิน และพลังงานความรŒอนที่ถูก ปลดปล†อยออกมาจากความเครียดนี้ คือตŒนเหตุทีทํ าใหŒ Io มีภูเขาไฟ ยาน Galileo ยังไดŒวัดอุณหภูมิของ ลาวาที่ถูกพ‹นจากปากปล†องภูเขาไฟอีกดŒวย และพบว‹าสูงกว‹าอุณหภูมิของลาวาบนโลกถึง 600 องศา เซลเซียส ขŒอมูลนี้ทํ าใหŒเรารูŒว‹า Io เปšนดาวที่รŒอนในที่สุดของสุริยจักรวาล
ส‹วน Ganymede นั้นเปšนดวงจันทรที่ใหญ‹ที่สุดในสุริยจักรวาลเพราะมีเสŒนผ‹าศูนยกลาง ยาวถึง 5,270 กิโลเมตร จึงนับว‹าใหญ‹กว‹าดาวพุธเสียอีก และมีขนาดใหญ‹ประมาณ 3 ใน 4 ของดาวอังคาร นักวิทยาศาสตรไดŒพบว‹าดวงจันทรดวงนี้เปšนดวงจันทรดวงเดียวเท‹านั้นของสุริย จักรวาลที่มีสนามแม‹เหล็กในตัวของมันเอง และถึงแมŒสนามแม‹เหล็กดังกล‹าวจะมีความเขŒมเปšน 10% ของความเขŒมสนามแม‹เหล็กโลก แต‹การที่มันมีสนามแม‹เหล็กในตัวของมันแสดงใหŒเรารูŒว‹า แกนกลางของ Ganymede กับแกนกลางของโลกมีไดนาโมแม‹เหล็กเหมือนกัน
เมื่อ 2 ป‚ก‹อนนี้ไดŒมีการประชุมนานาชาติที่เมือง Padova ในประเทศอิตาลีเรื่อง The Three Galileos เพื่อเฉลิมฉลองชื่อ Galileo ของนักวิทยาศาสตร ยานอวกาศและกลŒองโทรทัศนกลŒองใหม‹ของอิตาลี ที่ประชุมไดŒมอบภาพถ‹ายต‹างๆ ของดาวพฤหัสบดีและดวงจันทรบริวารใหŒแก‹สันตะปาปา John Paul ที่ 2 องคสันตะปาปาทรงพอพระทัยมาก และทรงตรัสสนับสนุนใหŒนักวิทยาศาสตร ดํ าเนินการคŒนหาความจริงเกี่ยว กับธรรมชาติต‹อไป เปšนการกลับคํ าตัดสินที่คณะตุลาการศาสนาไดŒเคยหŒาม Galileo มิใหŒวิจัยวิทยาศาสตร เมื่อ 388 ป‚ก‹อนนี้ครับ

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)