บุกดาวอังคาร

ดาวอังคารเปšนดาวเคราะหดวงหนึ่งของสุริยจักรวาล ที่โคจรรอบดวงอาทิตยหนึ่งรอบโดยใชŒเวลา นาน 687 วัน ดาวเคราะหดวงนี้อยู‹ห‹างจากดวงอาทิตย โดยเฉลี่ย 235 ลŒานกิโลเมตร จึงนับว‹าอยู‹ ไกลจากดวงอาทิตยประมาณ 1.2 เท‹าของระยะทางที่โลกอยู‹ห‹างดวงอาทิตย มันจึงไดŒรับแสงสว‹างและ ความรŒอนนŒอยกว‹าโลกมาก อุณหภูมิของ "บรรยากาศ" บนดวงดาวนี้จึงตํ่ าถึง --60 องศา เซลเซียส ดาวอังคารมีขนาดเล็กกว‹าโลกครึ่งหนึ่ง และหมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบโดยใชŒเวลานาน 24 ชั่ว โมงกับ 31 นาที ดังนั้น วันหนึ่งๆ บนดาวอังคาร จึงนานพอๆ กับวันหนึ่งๆ บนโลกเรา และจากการที่ แกนหมุนของดาวอังคารเอียงทํามุม 24 องศา ดับระนาบการโคจรของมัน (แกนของโลกเอียงทํ ามุม 23.5 องศากับระนาบการโคจร) มันจึงมีฤดูกาลเหมือนโลกเรา
มนุษยเรามีการผูกพัน และสนใจดาวอังคารมานานหลายพันป‚แลŒว นักดาราศาสตรชาวบาบิโลน เมื่อ สังเกตเห็นดาวดวงนี้มีสีแดงเรื่อๆ เหมือนเลือด จึงไดŒตั้งชื่อมันว‹า Nergel ซึ่งเปšนชื่อของมรณเทพ ส‹วนชาว จีนเรียกดาวอังคารว‹า ดาวพระเพลิง เพราะเห็นมันมีสีแดงคลŒายสีกองไฟและชาวกรีก เรียกดาวอังคารว‹า Mars ตามชื่อของเทพเจŒาแห‹งสงคราม
นักดาราศาสตรยุคใหม‹ไดŒเริ่มสนใจศึกษาดาวอังคารอีกครั้งเมื่อ G. Casini นักดาราศาสตรชาวอิตา เลียนไดŒสังเกตเห็นว‹า บริเวณขั้วของดาวมีสีขาว เพื่อที่จะชี้แจงที่มาของสิ่งที่ Casini เห็น W. Herschel นัก ดาราศาสตรชาวอังกฤษผูŒพบดาวมฤตยูจึงไดŒอธิบายว‹า มันคือนํ้ าแข็ง และเมื่อ Herchel เห็นบริเวณขาวที่ว‹า นี้มีขนาดใหญ‹ขึ้นในฤดูหนาว และลดขนาดเล็กลงในฤดูรŒอน เขาก็ยิ่งมั่นใจว‹า ดาวอังคารมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู‹ อย‹างแน‹นอน
ในป‚ พ.ศ. 2420 G.V. Schiaparalli นักดาราศาสตรชาวอิตาเลียน ไดŒเห็นลายเสŒนจํานวนมาก พาด ตัดผิวดาวอังคาร เขามีจินตนาการว‹า เสŒนที่เขาเห็นนั้นคือ คลอง รายงานการเห็นคลองบนดาว อังคารโดย Schiaparalli ไดŒทํ าใหŒผูŒคนสมัยนั้นตื่นเตŒนมาก เพราะคลองที่ Schiaparalli เห็นนั้นมี ความยาวถึง 1,500 กิโลเมตร ซึ่งนับว‹ายาวกว‹าคลอง Suez ของอียิปตŠถึง 10 เท‹า และ Ferminand de Lesseps ตŒองใชŒเวลาขุดคลอง Suez นานถึง 11 ป‚ จึงจะเสร็จสิ้น ดังนั้น คนหลายคนในยุคนั้นจึงคิดว‹าคลองบนดาวอังคารคือคลองที่เทวดาขุดแน‹ๆ ชาวบŒานในสมัยนั้น จึงเสนอใหŒมีการติดต‹อกับมนุษยบนดางอังคารโดยวิธีราดนํ้ ามันลงใน คลองแลŒวจุดไฟในตอนกลางคืน เพื่อใหŒชาวดาวอังคารไดŒเห็นแสงไฟที่ชาวโลกจุด
แต‹เมื่อสหรัฐฯ ไดŒส‹งยาน Viking 2 ไปลงบนดาวดวงนี้ ในป‚ พ.ศ. 2518 การวิเคราะหดินบนดาวไดŒ แสดงใหŒเห็นว‹า ดาวอังคารไม‹มีมนุษยหรือสัตวในรูปแบบที่เรารูŒจักอาศัยอยู‹เลย นอกจากนี้ ภาพถ‹ายที่ไดŒจาก การส‹งดาวเทียมและยานอวกาศต‹างๆ ไปโคจรและลงบนดาวอังคารในช‹วงเวลา 10 ป‚ที่ผ‹านมา ยังแสดงใหŒ เห็นว‹า ดาวอังคารแทบจะไม‹มีบรรยากาศห‹อหุŒมเลย เพราะความดันอากาศบนดาวอังคารนŒอยนิดคิดเปšน 0.000001% ของความดันอากาศบนโลก การไรŒบรรยากาศเช‹นนี้ ทํ า ใหŒรังสีต‹างๆ จากดวงอาทิตยสามารถทะลุผ‹านไปกระทบผิวดาวไดŒหมด โดยปราศจากการดูดกลืนใดๆ ภาพถ‹ายโดยยาน Mariner ยังแสดงใหŒ เห็นอีกว‹า 25% ของผิวดาวถูกอุกกาบาตพุ‹งชน และภูเขา Olympus Mons ซึ่งมีปากปล†องกวŒาง 30 กิโลเมตรและสูง 27 กิโลเมตรนั้น ถือ ไดŒว‹าเปšนภูเขาลูกใหญ‹ที่สุดในสุริยจักรวาล เพราะสูงกว‹ายอดเขา Everest ของโลกถึง 3 เท‹า สภาพหุบเหวบนดาวก็น‹าสนใจมากเช‹นกัน เพราะหุบเหวบนดาวอังคารบางหุบเหวลึกกว‹าหุบเขา Grand Canyon ของโลกถึง 3 เท‹า
ดังนั้น เราจะเห็นไดŒว‹า ดาวอังคารมีสภาพทางธรณีวิทยาที่น‹าสนใจยิ่ง เพราะจุดตํ่ าสุดของหุบเขาอยู่ ตํ่ ากว‹ายอดเขา Olympus Mons ถึง 32 กิโลเมตร (ยอดเขา Everest ของเราอยู‹สูงกว‹าทŒองมหาสมุทรแปซิ ฟกเพียง 20 กิโลเมตรเท‹านั้นเอง) นี่คือภาพความเปšนทะลุ‹มปุ†มปูของผิวดาวอังคารที่เรารูŒจัก
มาบัดนี้ ภาพลักษณดังกล‹าวกํ าลังไดŒรับการเปลี่ยนแปลง เพราะภาพถ‹ายที่ไดŒจากยาน Path finder และ Sojourner ของสหรัฐฯ ที่ไดŒส‹งไปสํ ารวจดาวอังคาร แสดงใหŒเห็นว‹า 1 ใน 3 ของผิวดาวราบเรียบจนน‹า พิศวง และบริเวณราบเรียบเปšนลานขนาดมโหฬารนี้อยู‹ทางเหนือของดาว นักธรณีวิทยาไดŒเปรียบเทียบว‹า พื้นที่นี้ราบเรียบเสมือนหนŒากลอง เพราะใครก็ตามที่ไดŒมีโอกาสขับรถไปบนพื้นที่นี้ไกล 100 กิโลเมตร เขาจะ เห็นเนินที่สูงอย‹างมากไม‹เกิน 1-2 เมตร ผิวดาวอังคารจึงเปรียบเสมือนเปšนลานสเก็ตนํ้ าแข็งที่มีขนาดใหญ‹ที่ สุดในสุริยจักรวาลเลยทีเดียว
ในความเปšนจริงนั้น โลกของก็มีพื้นผิวที่ราบเรียบขนาดมโหฬารเหมือนกัน แต‹ไม‹มีใครเห็นเพราะพื้นที่ ที่ว‹านี้อยู‹ใตŒมหาสมุทร ซึ่งนักสมุทรวิทยาไดŒพบมานานแลŒวว‹าทŒองมหาสมุทร ของโลกมีความราบเรียบไม‹แพŒ พื้นที่ราบบนดาวอังคารเลย ขŒอสังเกตที่ไดŒ ชี้นำใหŒนักวิทยาศาสตรหลายคนเห็นว‹าการที่ผิวดาวอังคารราบเรียบ นั้น เพราะพื้นที่ส‹วนนี้เคยเปšนทŒองมหาสมุทรนั่นเอง และนั่นก็หมายความว‹า ในอดีตเมื่อหลายพันลŒานป‚มา แลŒว ดาวอังคารเคยมีทะเล คํ าถามหนึ่งที่ติดตามมาคือ
ทะเลบนดาวอังคารมาจากไหนและเหือดแหŒงหายไป เพราะเหตุใด
ในการตอบคําถามนี้ V. Baker แห‹งมหาวิทยาลัย Arizona ในสหรัฐอเมริกาคิดว‹าในอดีตภูเขาไฟบน ดาวอังคารคงระเบิดรุนแรงและบ‹อยความรŒอนจากภูเขาไฟทํ าใหŒนํ้ าแข็งที่ขั้วเหนือของดาวหลอมเหลวเปšนนํ้ า ซึ่งนํ้าปริมาณมากนี้จะไหลจากขั้วดาวมารวมกันเปšนทะเลในบริเวณเหนือเสŒนศูนยสูตร แต‹แกสคารบอนไดออก ไซดปริมาณมากที่ไดŒถูกพ‹นออกมาจากการระเบิดของภูเขาไฟมีบทบาททํ าใหŒเกิดปรากฏการณเรือนกระจกบน ดาว และอากาศที่รŒอนนี้ทํ าใหŒนํ้าทะเลเหือดหายไปในที่สุด
ในการประชุมของสมาคม American Geophysical Union เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2541 ที่ Boston J. Head แห‹ง Brown University ไดŒรายงานว‹า จากขŒอมูลการสํ ารวจความราบเรียบของ ผิวดาวอังคาร เขาไดŒคํ านวณพบว‹า หากทะเลบนผิวดาวอังคารเคย มีจริง ทะเลนั้นควรจะมีนํ้ าลึกถึง 400 เมตร
จะอย‹างไรก็ตาม ขณะนี้ ยาน Mars Global Surveyor ของสหรัฐฯ มีกํ าหนดจะถ‹ายผิวดาวอังคารอีกในตŒนป‚ พ.ศ. 2542 หากภาพถ‹ายที่ไดŒชี้ใหŒเห็นอย‹างชัดเจนว‹า ดาวอังคารเคยมีทะเลจริง ความรูŒนี้จะเปšนเรื่องที่น‹าสนใจมากเพราะทŒองทะเลของโลกนี้มีฟอสซิลต‹างๆ อุดมสมบูรณ ดังนั้น ทŒองทะเล ของดาวอังคารก็น‹าจะมีฟอสซิลของสิ่งมีชีวิตเปšนจํานวนมากเช‹นกัน
นักดาราศาสตรหลายคนคิดว‹า ชีวิตที่เคยมี หรือกํ าลังมีหรือจะมีบนดาวอังคาร คงเปšนชีวิตที่ไม‹มีโครง สรŒางสลับซับซŒอน คือเปšนชีวิตง‹ายๆ ทั้งนี้เพราะพลังงานที่ไดŒจากการระเบิดของภูเขาไฟบนดาว พลังงานที่ไดŒ จากดวงอาทิตย และพลังงานที่ไดŒจากการเคลื่อนยŒายเปลือกทวีปของดาวอังคารจะไม‹มากพอที่จะทํ าใหŒสิ่งมี ชีวิตรูปแบบง‹ายๆ วิวัฒนาการไปสู‹การเปšนสิ่งมีชีวิตชั้นสูง
หากความคิดของ B. Jakosky ที่ปรากฏในวารสาร Journal of Geophysical Research ฉบับ เดือนสิงหาคมนี้เปšนจริง นั่นก็หมายความว‹าโอกาสที่ NASA จะพบสิ่งมีชีวิตบนดาวอังคารก็มีนŒอยตามไป ดŒวย เพราะสิ่งมีชีวิตที่ NASA ตŒองการเห็นนั้นจะมีปริมาณไม‹มาก และอาจจะหลบอยู‹ในที่เพียงไม‹กี่แห‹งบน ดาวเท‹านั้นเอง
Jakosky ไดŒขŒอสรุปเรื่องโอกาสการเกิดสิ่งมีชีวิตบนดาวอังคาร จากการเปรียบเทียบพลังงานบนโลก และบนดาวอังคาร และเขาไดŒพบว‹า ภูเขาไฟบนโลกปลดปล†อยพลังงานออกมาสูงกว‹า ภูเขาไฟบนดาวอังคารหลายรŒอยเท‹า และพลังงานที่ถูกปลดปล†อยออกมาเวลาเกิดปรากฏการณแผ‹นดินไหวบนดาวอังคารก็นŒอยกว‹า บนโลกมาก เขาคํ านวณพบว‹าตั้งแต‹ดาวอังคารถือกํ าเนิดจนถึงป˜จจุบัน พลังงานที่ดาวอังคารไดŒรับมีมากพอ ที่จะสรŒางชีวิตไดŒเพียง 20 กรัมต‹อตารางเซนติเมตรเท‹านั้นเอง ซึ่งพลังงานนี้โลกสรŒางไดŒตั้งแต‹เมื่อโลกมีอายุไดŒ 100 ลŒานป‚ (ป˜จจุบันนี้โลกมีอายุ 4,600 ลŒานป‚) ดังนั้น สิ่งมีชีวิตบนดาวอังคารจึงรับพลังงานไดŒไม‹มากพอที่ จะพัฒนาไปสู‹ความเปšนสัตวชั้นสูง Jakosky จึงไดŒเสนอใหŒ NASA คŒนหา "ชีวิต" เฉพาะตามบริเวณที่มีนํ้ าพุ รŒอนเท‹านั้น
ป˜ญหาชีวิตบนดาวอังคารจะมีหรือไม‹มี และถŒามี มันจะอยู‹ในรูปแบบใด คงเปšนป˜ญหาที่ชาวโลกรอ คอยคําตอบ เพราะทศวรรษหนŒานี้จะเปšนทศวรรษแห‹งการสํ ารวจดาวอังคาร โดยสหรัฐฯ จะส‹งยานอวกาศ 2 ลํา ลงคŒนหาชีวิตบนดาว และในป‚ พ.ศ. 2546 ยาน Mars Surveyor ก็จะถูกส‹งไปลงเก็บหินและดินบนดาว แลŒวนํากลับมาวิเคราะหบนโลก ส‹วนทางญี่ปุ†นนั้น ก็ไดŒส‹งยาน Planet B มุ‹งหนŒาสู‹ดาวอังคารเรียบรŒอยแลŒว ตั้งแต‹เมื่อตŒนป‚ พ.ศ. 2541
ขŒอมูลทั้งหลายทั้งปวงที่เราจะไดŒรับจากยานอวกาศเหล‹านี้ จะทํ าใหŒเราผูกพันและสนใจจะไปเยือน ดาวอังคารในอีก 30 ป‚ครับ

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)