ละอองดาวู
นักวิทยาศาสตรไดŒรูŒมานานแลŒวว‹า ที่ระดับความสูง 15-50 กิโลเมตรเหนือโลก ถึงแมŒความหนาแน‹น ของอากาศจะเจือจางก็ตาม แต‹เราก็พบว‹าบรรยากาศในบริเวณนั้นมีฝุ†นละอองมากมาย คือโดยในทุกๆ ปริมาตร 1,000 ลูกบาศกเมตรจะมี ฝุ†นขนาดเสŒนผ‹าศูนยกลาง 0.05 มิลลิเมตรอยู‹ 1 เม็ด
ฝุ†นเหล‹านี้มีแหล‹งกําเนิดต‹างๆ กัน เช‹น จากการระเบิดของภูเขาไฟบนโลก หรือเวลายานอวกาศลุก ไหมŒ เพราะถูกอากาศเสียดสีหรือเวลาใครเผาป†าหรือเวลาดาวหาง และอุกกาบาตโคจรผ‹านโลก ละอองฝุ†น เหล‹านี้หากนํามาชั่งรวมกันจะมีนํ้าหนักมาก นักวิทยาศาสตรประมาณว‹าโลกถูกผงฝุ†นถล‹มทับถมถึง 10,000 ตัน/ป‚
ละอองที่มีขนาดและนํ้าหนักต‹างๆ กันนี้ ละอองใดที่เบาจะลอยพลิ้วไปมาในทะเล อากาศไดŒนาน ละอองใดที่หนักก็จะตกลงสู‹พื้นดินเบื้องล‹างอย‹างรวดเร็ว ละอองฝุ†นที่มีมากจะเกาะจับกันเปšนกŒอนเมฆขนาด ใหญ‹บดบังแสงอาทิตย มีผลทํ าใหŒอุณหภูมิของพื้นดินใตŒเมฆลดตํ่ า และหากเครื่องบิน บินผ‹านเมฆฝุ†นเหล‹านี้ เครื่องบินอาจประสบอุบัติเหตุตก เพราะกํ าลังของเครื่องยนตที่สูดฝุ†นเขŒาไปไม‹พอเพียงที่จะประคับประคอง เครื่องบิน
ในอวกาศนอกโลกก็มีฝุ†นเหมือนกัน ในป‚ พ.ศ. 2526 นักวิทยาศาสตรชาวญี่ปุ†นไดŒรายงานการเห็นฝุ†น อวกาศเกาะกลุ‹มกันเปšนวงแหวนรอบดวงอาทิตย และนักดาราศาสตรเองก็ไดŒเคยเห็นกลุ‹มเมฆในอวกาศ ขนาดมโหฬาร บดบังแสงจากดาวฤกษมิใหŒมาถึงเรา ทําใหŒเรามองไม‹เห็นดาวฤกษที่อยู‹หลังกลุ‹มเมฆนั้นเลย
เมื่อประมาณ 8 ป‚ก‹อนนี้ E. Enders แห‹งมหาวิทยาลัย Chicago ในสหรัฐอเมริกาไดŒใชŒกลŒอง จุลทรรศนศึกษา องคประกอบของอุกกาบาต และไดŒเห็นกลุ‹มอะตอมของเพชรฝ˜งตัวอยู‹ในอุกกาบาตกŒอนนั้น เมื่อเขาวัดอายุของเพชร เขาก็พบว‹าเพชรในอุกกาบาตกŒอนนั้น มีอายุยืนนานกว‹าอายุของสุริยจักรวาลถึง 100 ลŒานป‚ ขŒอมูลนี้ ทํ าใหŒ Enders ตัดสินใจ สรุปว†าอุกกาบาตกŒอนนั้นเปšนอุกกาบาตที่มีกํ าเนิดมาจากการ ระเบิดของดาวฤกษบางดวงที่เมื่อถึงกาลแตกดับ ไดŒระเบิดอย‹างรุนแรงทํ าใหŒสะเก็ดดาวชิ้นนŒอยใหญ‹พุ‹งขŒาม หŒวงอวกาศมายังกลุ‹มกาซรŒอนของสุริยจักรวาลที่กําลังก‹อตัว ผิวฝุ†นของกาซรŒอนห‹อหุŒม และจับตัวแข็งเปšน กŒอนอุกกาบาตและเมื่อกŒอนอุกกาบาตชนกัน ผงฝุ†นบางส‹วนไดŒกระจัดกระจายตกลงสู‹โลกเปšนฝุ†นอุกกาบาต ใหŒ Enders เห็น
Enders จึงไดŒรับการยกย‹องว‹าเปšนบิดาของวิทยาการศึกษาสมบัติของดาวดŒวยกลŒองจุลทรรศน
ตามปกติเวลาเราผ‹าลูกเห็บที่ตกจากทŒองฟ‡าออกดู เราจะเห็นชั้นของนํ้ าแข็งเรียงซŒอนกัน ชั้นนํ้ าแข็ง ทุกชั้นเปšนดัชนีชี้บอกสภาพดินฟ‡าอากาศ ขณะที่ลูกเห็บกํ าลังก‹อตัวไดŒ ฉันใดก็ฉันนั้นหากเราผ‹าละอองดาว หรือฝุ†นอวกาศออกดู เราก็สามารถรูŒสภาพของอากาศบนดาวที่ใหŒกํ าเนิดเม็ดฝุ†นเม็ดนั้นไดŒเช‹นกัน
จากหลักการนี้นักวิทยาศาสตรสามารถบอกไดŒว‹า เมื่อดาวฤกษหรือดาว supernova กันแน‹ที่ระเบิด และเหตุการณที่รุนแรง ในอดีตนั้นเปšนเช‹นไร อายุและองคประกอบของกาแล็กซี่ต‹างๆ เปšนอย‹างไร และ ปฏิกิริยานิวเคลียรบนดาวฤกษ เหล‹านั้นเปšนอย‹างไร
ยŒอนหลังไปเมื่อประมาณ 40 ป‚ก‹อนนี้ H. Suess และ H. Urey ไดŒเคยแสดงใหŒโลกรูŒว‹าเราสามารถ จะล‹วงรูŒความอุดมสมบูรณของธาตุต‹างๆ ในสุริยจักรวาลไดŒจากการศึกษาอุกกาบาต และในป‚ พ.ศ. 2500 นั้นเอง M. Burbridge ,W. Fowler และ F. Hoyle ก็ไดŒแสดงใหŒเรารูŒว‹าธาตุต‹างๆ ที่มีในสุริยจักรวาล ขณะ นี้เปšนผลสืบเนื่องจากการระเบิดในอดีตของดาวฤกษหลายดวงที่อยู‹นอกสุริยจักรวาล และเมื่อไม‹นานมานี้เอง นักวิทยาศาสตรไดŒประสบความสํ าเร็จในการวัดอายุของละอองดาวที่มีกํ าเนิดจากการระเบิดของดาวยักษแดง (red giant star) แลŒวไดŒผลว‹า จักรวาล (universe) มีอายุประมาณ 14,500 ลŒานป‚
ถึงแมŒวิทยาการดŒานละอองดาวศึกษานี้ จะมีอายุไดŒเพียงประมาณ 10 ป‚เท‹านั้นเองก็ตาม แต‹วิทยา การแขนงนี้ก็กําลังเจริญเติบโต ป˜จจุบันเทคโนโลยีใหม‹ๆ ที่ทันสมัย กํ าลังชี้ใหŒเราเห็นรูปแบบของปฏิกิริยา นิวเคลียรต‹างๆ บนดาวฤกษ จากการศึกษาละอองดาวและเมื่อเร็วๆ นี้ T. Bernatowicz แห‹งมหาวิทยาลัย Washington ในสหรัฐอเมริกาไดŒตรวจพบว‹า ในละอองดาวมักจะมี Titanium carbide เปšนแกนกลาง และ มี graphite ห‹อหุŒม ขŒอมูลนี้ทํ าใหŒเรารูŒว‹าบรรยากาศเหนือดาวฤกษที่เปšนตŒนกําเนิดของละอองดาวนั้นมีความ ดันสูงมาก เพราะตามปกติ Tic จะจับตัวแข็งก‹อน Graphite
จึงเห็นไดŒว‹า การศึกษาละอองดาวทุกรูปแบบจะสามารถทํ าใหŒเราเขŒาใจขั้นตอนการอุบัติของสุริยจัก ราลและวิวัฒนาการของดาวฤกษต‹างๆ นอกสุริยจักรวาลดŒวยครับ

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)