เครื่องเร่งอนุภาค LEP
ย‹างเขŒาปลายเดือนนี้ อุปกรณวิทยาศาสตรที่มีขนาดใหญ‹ที่สุดในโลก จะเริ่มทํ างาน อุปกรณชิ้นนี้ ฝ˜งอยู‹ใตŒดินที่ระดับลึก 100 เมตร ใกลŒหมู‹บŒานแห‹งหนึ่ง ของกรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอรแลนด ตัวอุปกรณ มีลักษณะเปšนท‹อรูปโดนัท ซึ่งมีเสŒนรอบวงยาว 25 กิโลเมตร เสŒนผ‹าศูนยกลางของท‹อนี้ยาว 4 เมตร มีนํ้าหนักทั้งสิ้น 60,000 ตัน ตัวอุปกรณมีลวด และสาย ไฟยาว 6,000 กิโลเมตร สิริราคารวม 2 หมื่นลŒานบาท
นักฟสิกส 3,500 คน จากประเทศต‹างๆ ในยุโรป 14 ประเทศ จะใชŒเครื่องมือนี้ เร‹งอนุภาคอิเล็กตรอน และโพสิตรอน ซึ่งเปšนอนุภาคที่เหมือน อิเล็กตรอนทุกประการ แต‹มีประจุไฟฟ‡าเปšนบวก ใหŒอนุภาคทั้ง 2 ชนิดนี้วิ่งสวนกันในท‹อวงกลม จนกระทั่งมีความเร็วเปšน 99.999996% ของความเร็วแสง จากนั้น จึงบังคับใหŒอนุภาคทั้งสองพุ‹ง เขŒาชนกัน จุดประสงคของการทดลองนี้ เพื่อยืนยัน (หรือลบลŒาง) ความเขŒาใจของมนุษย เรื่องโครงสรŒางของสสารทุกชนิดในจักรวาล
อุปกรณนี้มีชื่อเรียกเปšนทางการว‹า Large Electron-Positron Collider หรือเรียกสั้นๆ ว‹า LEP
อิเล็กตรอน และโพสิตรอน ที่มีพลังงานสูง เวลาชนกัน พลังงานของอนุภาคทั้งสอง บางส‹วนจะถูกเปลี่ยนไป เปšนสสารตามสมการ E=mc2 เมื่อเปšนเช‹นนี้ การชนกันของอนุภาคทั้งสอง จะทํ าใหŒเกิดอนุภาคต‹างๆ มากมาย เปรียบเสมือนการที่เราเอารถโตโยตŒา 2 คันพุ‹งเขŒาชนกันดŒวยความเร็วสูง แลŒวมีรถโฟลŠค รถจักรยานยนต รถเฟ‚ยต หรือ แมŒกระทั่งรถไฟ เกิดขึ้นหลังจากการชนนั้น
นักวิทยาศาสตรคาดหวังว‹า LEP ซึ่งมีขนาดมโหฬารเครื่องนี้ สามารถสรŒางอนุภาคชนิดหนึ่ง ซึ่งมี ชื่อเรียกว‹า Zo ใหŒนักวิทยาศาสตรเห็นไดŒ อนุภาค Zo เคยอุบัติในจักรวาลเมื่อ 15,000 ลŒาน ป‚มาแลŒว ซึ่งเปšนตอนที่จักรวาลถือกําเนิดใหม‹ๆ จากจํานวนการชนระหว‹างอิเล็กตรอน และโพสิตรอนนับพันลŒานครั้ง โอกาสการเกิดอนุภาค Zo จะเปšนเพียงแค‹ 1 ครั้งเท‹านั้น ยิ่งไปกว‹านั้น อายุขัยของอนุภาค Zo ก็สั้นมาก คือประมาณ 0.000,000,000,012 วินาที อุปสรรคในการสังเกต Zoจึงมีมากมหาศาล ความยากลําบากนี้ เปรียบเทียบไดŒกับการคŒนหาเพื่อนที่รูŒจักสักคน ในฝูงชน 1,000 ลŒานคน
นอกจากอนุภาคZo แลŒว นัก ฟสิกสคาดว‹าจะมีอนุภาคอื่นๆ เช‹น Higgs boson และ top quark เกิดขึ้นอีกดŒวย
ในอดีตเมื่อ 60 ป‚มาแลŒว ทุกคนเชื่อว‹าสสารทุกชนิดประกอบ ดŒวยอนุภาคมูลฐาน 3 ชนิด คือ โปรตรอน นิวตรอน และ อิเล็กตรอน ป˜จจุบันนักวิทยาศาสตรพบว‹าโปรตรอน และนิวตรอน ยังมีองคประกอบที่เล็กลงไปอีก ซึ่งเรียกว‹า quark ทฤษฎีล‹าสุดแถลงว‹า quark มี 6 ชนิด ตราบเท‹าทุกวันนี้ นักวิทยาศาสตรไดŒสังเกตเห็น quark แลŒว 5 ชนิด ส‹วนชนิดที่ 6 คือ top quark นั้นยังไม‹มีใครเห็น
หาก LEP แสดงใหŒนักวิทยาศาสตรเห็น top quark อย‹างชัดเจน เราก็จะสามารถอธิบายได้ และเขŒาใจอย‹างแจ‹มแจŒงว‹า เหตุใดสสารทุกชนิดในจักรวาล จึงดํารงสภาพอยู‹ไดŒดังที่มันเปšนอยู‹
หาก LEP แสดงใหŒเห็นว‹า top quark ไม‹มีหรือแสดงใหŒนักวิทยาศาสตรเห็นอนุภาคอื่น ที่ไม‹มีใครคาดฝ˜นมาก‹อนว‹า จะมี นั่นหมายความว‹านักวิทยาศาสตรจะตŒองปฏิวัติ ปฏิรูป ความคิดทางดŒานโครงสรŒางของธรรมชาติ อีกเปšนการใหญ‹
ในขณะที่นักวิทยาศาสตรภาคพื้นยุโรป กําลังจะใชŒ LEP บุกเบิกความรูŒ ทางสหรัฐฯ เองก็มีเครื่อง เร‹งอนุภาคที่นับไดŒว‹าเปšนคู‹แข‹งของ LEP เหมือนกันที่มหาวิทยาลัย Stanford ในรัฐ California แต‹ เครื่องเร‹งอนุภาคของอเมริกาเล็กกว‹า ของยุโรป 100 เท‹า จึงผลิต Z 0 ไดŒนŒอยกว‹า และนั่นก็หมายความ ว‹าโอกาสที่จะคŒนพบอนุภาคใหม‹ๆ ก็มีนŒอยตามไปด‡วย
อย‹างไรก็ตามอเมริกายังไม‹ตั้งใจ ที่จะชูธงแพŒ อเมริกากํ าลังสรŒาง Superconducting Supercollider (SSC) ที่ Texas ซึ่งมีขนาดอภิมหาโอฬาร คือมีเสŒนรอบวงยาว 100 กิโลเมตร และมี พลังงานมากกว‹า LEP ยุคป˜จจุบันมาก
อุปกรณ LEP ตŒองการพลังงาน และพลังเงินมาก ในการดํ าเนินงาน ถึงแมŒผลการทดลองนี้ไม‹ สามารถทํ าใหŒนํ้าทะเลเปšนนํ้าจืด และ LEP รักษาโรคมะเร็งก็ไม‹ไดŒ แต‹นักวิทยาศาสตรทั้งหลาย ผูŒกํ าลัง ขยายอาณานิคมความรูŒก็ไม‹มั่นใจนักว‹า จะมี อะไรรอตนอยู‹เบื้องหนŒา ความลึกลับทั้งหลายทั้งปวงจึงเปšน เรื่องที่น‹าตื่นเตŒน และน‹ากระวนกระวายที่สุด
ดังนั้น นักวิทยาศาสตรทั้งหลาย จึงกํ าลังคอยผลการทดลองจาก LEP อยู‹อย‹างใจ จดจ‹อ

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)