LDEF วิเคราะห์
เมื่อเดือนเมษายนของป‚ พ.ศ. 2527 สหรัฐฯ ไดŒปล†อยดาวเทียมดวงหนึ่งชื่อ Long Duration Exposure Facility ขึ้นสู‹อวกาศดาวเทียมดวงนี้มีชื่อเรียกสั้นๆ ว‹า LDEF ภายในดาวเทียมรูปทรงกระบอกนี้มีอุปกรณวิทยา ศาสตรรวมทั้งสิ้น 57 ชิ้น เพื่อทดลองตรวจระดับรังสีอัลตราไวโอเลตในอวกาศ และตรวจวัดความหนาแน‹นของขยะ อวกาศ เปšนตŒน นักวิทยาศาสตรคาดการณว‹า หลังจากที่ปล†อยใหŒ LDEF ลอยท‹องฟ‡าอยู‹นาน 9 เดือน ก็จะส‹ง กระสวยอวกาศขึ้นไปสอยนํามันกลับมา
แต‹แลŒวก็เกิดอุบัติเหตุยาน Challenger ระเบิด โครงการส‹งกระสวยอวกาศของสหรัฐฯ ไดŒหยุดชะงักงัน ไปนานร‹วม 3 ป‚ LDEF จึงไดŒกลายสภาพเปšนดาวคŒางฟ‡าไปอย‹างไม‹ไดŒมีใครเจตนา พอถึงเดือนมกราคม ป‚ พ.ศ. 2533 ก‹อนที่มันจะเสียดสีกับบรรยากาศของโลก จนถูกเผาไหมŒเปšนจุล นักบินอวกาศจากยาน Columbia ก็ไดŒขึ้นไปนํ า LDEF กลับลงมาสู‹พื้นโลกไดŒสํ าเร็จ
เวลานาน 6 ป‚ที่ลอยอŒางวŒางอยู‹ในอวกาศไดŒทํ าใหŒ LDEF มีคุณค‹าทางวิทยาศาสตรมาก เพราะดาวเทียม ดวงนี้นับเปšนดาวเทียมวิจัยดวงแรกในประวัติศาสตรการสํ ารวจอวกาศที่ไดŒถูกนํ ามาวิเคราะหในหŒองทดลอง NASA ไดŒตั้งงบประมาณการตรวจสอบ LDEF ไวŒ 200 ลŒานบาทโดยหวังว‹าขŒอสรุปที่ไดŒจากการศึกษานี้ จะเปšน ประโยชน ในการสรŒางสถานีอวกาศขนาดใหญ‹ที่จะมีอายุทํ างานนานถึง 30 ป‚ ในอนาคตชื่อ Freedom อีกดŒวย
ขณะนี้ขŒอมูลเบื้องตŒนจาก LDEF ชี้บอกว‹า ที่ระยะความสูง 300 กิโลเมตรเหนือผิวโลกนั้น LDEF ไดŒรับรังสี ต‹างๆ จากอวกาศมากมาย จนทําใหŒมันเปšนวัตถุกัมมันตภาพ เมื่อนักวิทยาศาสตรวัดปริมาณรังสีที่มันเปล†งออก มา เขาก็ทราบทันทีว‹า LDEF ไดŒรับรังสีประมาณ 10 เท‹าของปริมาณรังสีที่คนทํ างานในโรงงานไฟฟ‡าปรมาณูได้ รับ นอกจากนี้ขŒอมูลยังชี้บอกว‹า เมื่อรังสีอัลตราไวโอเลตตกกระทบบรรยากาศเบื้องบนแกสออกซิเจนจะแตกตัว เปšนอะตอม อะตอมออกซิเจนที่เกิดขึ้นจะพุ‹งเขŒากัดทําลายผิวดาวเทียม ดังนั้นเมื่ออะตอมของสารที่ใชŒทํ าผิว ระเหิดออกมา มันอาจจะไปเกาะติดกับอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ทํ าใหŒการงานของอุปกรณความไวสูงเหล‹านั้นบกพร‹องได้
LDEF ยังไดŒเก็บละอองดาวที่มีอยู‹ในอวกาศลงมาอีกดŒวย ฝุ†นอวกาศเล็กๆ เหล‹านี้ กํ าเนิดมาจากกาแล็กซี นอกจักรวาลของเรา และถŒานักวิทยาศาตรตรวจพบโมเลกุลของกรดอะมิโนในชิ้นส‹วนเหล‹านี้เมื่อใด เราก็อาจ จะถือไดŒว‹าการคŒนพบนั้น สนับสนุนทฤษฎีของนักวิทยาศาสตรบางคนที่ว‹าใหŒกํ าเนิดชีวิตบนโลกอวกาศ
LDEF ยังไดŒตรวจพบอีกว‹า ในอวกาศรอบๆ โลกเรามีขยะมากมาย ซึ่งขยะเหล‹านี้ เกิดจากการระเบิด ของจรวดบŒาง มาจากการเผาไหมŒของดาวเทียมบŒาง ขยะจํ านวน 150,000 ชิ้น มีขนาดตั้งแต‹ 1 ซม.ขึ้นไป เวลาเม็ดขยะเหล‹านี้มีความเร็วสูง มันมีสภาพเหมือนกระสุนที่สามารถเจาะทะลุผนังของยานอวกาศที่กํ าลังโคจร อยู‹ใหŒเปšนรูโหว‹ไดŒ ดังนั้นในการสรŒางสถานีอวกาศ วิศวกรจึงตŒองคํ านึงถึงเรื่องนี้และจะตŒองออกแบบยานใหŒมี ส‹วนของยานที่จะไดŒรับการกระทบจากกระสุนมีเกราะกําบัง
นักวัสดุศาสตร็ไดŒนําพลาสติกและโลหะหลายชนิด ที่ติดตั้งไวŒใน LDEF มาตรวจสอบ และไดŒพบว‹าวัสดุ เหล‹านี้ถูกอะตอมของออกซิเจนทําลายไปมาก โครงการอุตสาหกรรมผลิตวัสดุบางชนิดในอวกาศจึงตŒองมีการทบทวน
แต‹การทดลองที่เด็กๆ ทั่วโลก และผูŒใหญ‹หลายคนสนใจ คือการทดลองปลูกมะเขือเทศจากเมล็ดที่ไดŒรับรังสี คอสมิกเปšนเวลานาน NASA ไดŒแจกเมล็ดมะเขือเทศ จํ านวน 12.5 ลŒานเมล็ด แก‹นักเรียนและครู 3 ลŒานคนในโรง เรียนต‹างๆ ทั่วสหรัฐฯ เพื่อศึกษาดูอิทธิพลของอวกาศต‹อการเจริญเติบโตของเมล็ดพืช ผลการทดลองพบว‹าถึงแมŒ เมล็ดพืชเหล‹านี้ ไดŒรับรังสีมากถึง 5,000 เท‹าของปริมาณที่มันไดŒรับหากปลูกในดินก็ตาม แต‹ 50% ของเมล็ดพืช เหล‹านี้ก็สามารถเจริญเติบโต มีชีวิต และแพร‹พันธสืบต‹อไปไดŒเปšนปกติ เมื่อเปšนเช‹นนี้ก็แสดงว‹า ความฝ˜นของ มนุษยที่จะทํานา ทํ าไร‹ในอวกาศนั้นเปšนความจริงได้
NASA คาดว‹าจะตŒองใชŒเวลาอีกนาน 2-10 ป‚ โครงการวิเคราะห LDEF จึงจะเสร็จสิ้นเท‹าที่ไดŒผลแค‹นี้ NASA ก็ถือว‹าคุŒมสุดๆ แลŒว ที่จะไดŒต‹อไปถือเปšนกํ าไรทั้งหมด ครับ

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)