วิทยาศาสตร์วิจัยด้วยว่าว
วินาทีแรกที่ R. Taylor แห‹ง National Science Foundation ของสหรัฐฯ ไดŒเห็นชื่อโครงการวิจัยของ B. Balsley แห‹งมหาวิทยาลัย Colorado เขาก็แทบจะกลั้นเอิ๊กอากไม‹ไดŒ เพราะ Balsley ไดŒเขียนโครงการวิจัย เพื่อขอทุนทําวิจัยเรื่องการสํารวจสนามไฟฟ‡าในบรรยากาศเหนือโลก โดยใชŒว‹าว
แต‹เมื่อ Taylor ไดŒพินิจพิเคราะหเจาะลึกในรายละเอียดของโครงการดŒานที่เกี่ยวกับความเปšนไปไดŒ ความ สําคัญ และประโยชนของโครงงานวิจัยนี้แลŒว ความรูŒสึกเดิมของเขาที่ว‹า ความคิดของมนุษยที่ชื่อ Balsley คนนี้ เพี้ยน ก็เริ่มเปลี่ยนเปšนว‹า ชักเขŒาท‹าเขŒาทางดี คือ Balsley เสนอว‹าเขาตŒองการจะชักว‹าวขึ้นฟ‡าเหนือเกาะ Christmas ในมหาสมุทรแปซิฟก และจากเชือกที่โยงตัวว‹าวลงดินนั้น เขากะจะแขวนอุปกรณวิทยาศาสตร ที่จะทํ า หนŒาที่เก็บขŒอมูลทางอุตุนิยมวิทยา เช‹น ดŒานความชื้น ความดัน อุณหภูมิ และสนามไฟฟ‡า ติดต‹อเนื่องกันเปšน เวลา นานๆ
อันความคิดที่จะใชŒว‹าว สํ ารวจธรรมชาตินี้มิใช‹ความคิดใหม‹ ในอดีต เมื่อประมาณ 250 ป‚มาแลŒว Benjamin Franklin ไดŒเคยชักว‹าวขึ้นเหนือฟ‡าเมือง Philadelphia เพื่อตรวจหาประจุไฟฟ‡าในกŒอนเมฆ และ มีกุญแจเหล็กแขวนอยู ‹ ที่ดŒายโยงว‹าว ในเวลาต‹อมาเมื่อมนุษยรูŒจักสรŒางบอลลูนและรูŒจักทําเครื่องบิน การใชŒว‹าวในโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตรก็ค‹อยๆ ถดถอยหนีเขŒากลีบเมฆไป
หลังจากที่ไดŒรับอนุมัติเงินสนับสนุนการวิจัย Balsley ก็สามารถชักว‹าวของเขาขึ้นฟ‡า ไดŒสํ าเร็จเมื่อปลายป‚พ.ศ. 2533 ว‹าวลอยอยู‹นาน 4 วันที่ ระดับความสูง 3.5 กิโลเมตรเหนือพื้นดิน ขŒอมูลที่เขาไดŒจากการสํ ารวจครั้งนั้นไดŒถูกนํามาตีพิมพเผยแพร‹ ในวารสารชื่อ Bulletin of the American Meteorological Society เมื่อตอนเดือนมกราคมที่ผ‹านมานี่เอง
ว‹าววิจัยของ Balsley นี้มีขŒอดีเหนือบอลลูนหรือเครื่องบินหลายประการ คือนอกจากจะมีราคาค‹างวดถูก กว‹าแลŒวมันสามารถลอย “อยู‹กับที่” ไดŒทํ าใหŒนักวิทยาศาสตรไดŒรับขŒอมูลจําเพาะของสถานที่นั้น ต‹อเนื่องกันเวลา นาน ซึ่งความสามารถ ประเด็นนี้ เครื่องบินหรือบอลลูนทํ าไม‹ไดŒ
วงการอุตุนิยมวิทยามีความประสงคจะใหŒ Balsley ลอยว‹าวอีกหลายตัว ที่ระดับความสูง 15-20 กิโลเมตร เพื่อตรวจสอบสถานภาพของโอโซนในบรรยากาศโลก ซึ่งมีแนวโนŒมว‹ากํ าลังจะหมดไปทุกวัน
การหาวัสดุที่เหมาะสมมาทําตัวว‹าว และเชือกโยงว‹าว นับว‹าเปšนป˜ญหาสํ าคัญในการวิจัยลักษณะนี้ เพราะ เปšนที่ทราบกันว‹า ที่ระดับความสูง 20 กิโลเมตร มีลมสินคŒาซึ่งมีความเร็วในการพัดประมาณ 5-10 เมตร/วินาที ดังนั้นตัวว‹าวจะตŒองไดŒรับการออกแบบใหŒสามารถทนทานต‹อกระแสลมแรง ณ ระดับ นี้ไดŒ Balsley ไดŒใชŒวัสดุพวกmylar ทํ าตัวว‹าว และใชŒ kevlar เหนียวกว‹า เหล็กกลŒา แต‹เบากว‹าเชือกว‹าว
ว‹าววิจัยของ Balsley คงสรŒางป˜ญหาการคมนาคมทางอากาศ หากปล†อยใหŒมันลอยท‹องฟ‡า ในบริเวณที่มีการจราจรทางอากาศคับคั่ง
Balsley มีโครงการจะชักว‹าวขึ้นฟ‡าในบริเวณขั้วโลกใตŒ เพราะที่นั่นมีการสัญจรของเครื่องบินพาณิชยนŒอย แต‹จุดประสงคหลัก คือ เพื่อตรวจสภาพการเกิดและการทํ าลายโอโซน ว‹าวของเขาจะศึกษากระบวนการขนส‹งไอ นํ้ าในอากาศ รวมทั้งสังเกตการสะทŒอนและการดูดกลืนแสงโดยกŒอนเมฆอีกดŒวย
ตราบใดที่ลมยังพัด ตราบใดที่รังสีอัลตรŒาไวโอเลตยังไม‹ไดŒ แผดเผาใหŒ mylar ที่ใชŒในการทํ าตัวว‹าวละลาย ตราบนั้นนักวิทยาศาสตรทั้งหลายก็ตระหนักไดŒดีว‹าชักว‹าวแบบนี้ก็สนุกไดŒ ไม‹แพŒแบบอื่นเหมือนกัน

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)