หลังจากที่ไดศึกษาซากหินดึกดําบรรพมานานรวม 10 ป L.W. Alvarez และบุตร สองนักวิทยา
ศาสตรชาวอเมริกัน ก็ไดสรุปลงความคิดเห็นวา เมื่อราว 63 ฑ 0.5 ลานปมาแลว โลกมนุษยถูกอุกกาบาต
ขนาดใหญลูกหนึ่งพุงเขาชน แรงปะทะมหาศาลทํ าใหละอองดินพุงเปนพวยขึ้นปกคลุมทองฟาเมฆที่หนาทึบ
ทําหนาที่เปนเกราะกําแสงอาทิตย เปนผลทํ าใหอุณหภูมิของโลกตํ่ า ความหนาวเหน็บที่ติดตอเปนเวลานาน
ไดพิฆาตเขนฆาไดโนเสารและสัตวอื่นๆ อีกหลายหมื่นชนิดสาบสูญไปจากโลก
หลักฐานตางๆ ทางธรณีวิทยาในเวลาตอมาก็ชี้บงวา อุกกาบาตมหากาฬลูกนั้นไดตกในบริเวณใกล
แหลม Yucatan ในประเทศเม็กซิโก เม็ดอุกกาบาตฝงอยูใตดินที่ระดับลึก 2 กิโลเมตร บริเวณโดยรอบของ
หลุมมีขนาดเสนผาศูนยกลางราว 180 กิโลเมตร
แตในวารสารวิจัยชื่อ Geology ฉบับเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2534 W. A. Clemens แหง
มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย Berkeley ไดตั้งขอสังเกตวา หากไดโนเสารลมตายจนสูญพันธุไป เพราะอากาศ
หนาวเย็นแลวละก็ เหตุไฉนสัตวอื่นๆ เชน เตา คางคก ฯลฯ ซึ่งไมมีความจัดเจนในการมีชีวิตกลางความ
หนาวเย็นเลย จึงสืบพันธุมีชีวิตรอดมาไดทุกวันนี้ Clemens ยังพบอีกวาบนดินแดนแถบทวีปแอนตารกติกา
ซึ่งมีนํ้ าแข็งปกคลุมตลอดปนั้น มีไดโนเสารชนิดหนึ่งชื่อ Hipsilophodonts อาศัยอยู ไดโนเสารพันธุนี้มีขนาด
สูง 2 เมตร มีความสามารถในการเคลื่อนไหวไดเร็ว หากไดโนเสารขนาด "จิ๋ว" นี้เปนสัตวที่ชอบอพยพถิ่น
ฐาน เวลาอากาศหนาว มันจะตองเดินทางไกลถึง 2,900 กิโลเมตร จึงจะมาถึงดินแดนที่มีอากาศอบอุนได
Clemens ไมคิดวาสัตวที่มีขนาดตัวเล็กเชนนี้ จะเดินทางไดไกลถึงขนาดนั้น และหลักฐานจากซากโครง
กระดูกที่เขาพบก็แสดงใหเห็นวา มันเปนสัตวที่ชอบใชชีวิตโดดๆ ไมชอบอยูรวมกันเปนฝูง ซึ่งบรรดานักชีว
วิทยาทั้งหลายก็ทราบดีวา สัตวโลกที่ดํ ารงชีวิตในลักษณะเปนฝูงเทานั้นที่จะมีอุปนิสัยชอบอพยพ เมื่อเปน
เชนนี้ก็แสดงวา เจาตัว Hipsilophodonts ไมไดไปไหนมาไหน มันอาศัยอยูในบริเวณขั้วโลกที่หนาวเย็นตลอด
ทั้งป มันอาศัยอยูในบริเวณที่หนาวและมืดไดนานเปนเดือน ดังนั้น กรณีฟาจะมืดสัก 3 เดือน อากาศจะ
เย็นจัดสักเพียงไรมันก็ไมรูสึกอะไรเลย Clemens สรุปวา ความหนาวเย็นคงไมไดฆา ไมไดทํ าลายไดโนเสาร
จนสูญพันธุ
ลาสุดวารสาร Science ประจําเดือนกันยายน พ.ศ. 2536 V. L. Sharpen แหง Planetary
Institute ที่ Houston ในสหรัฐอเมริการายงานไดเพิ่มเติมวา อุบัติการณอุกกาบาตพุงชนโลก