สำรวจดาวพฤหัสบดี
คืนหนึ่งในป‚ พ.ศ. 2153 G. Galileo ไดŒใชŒกลŒองโทรทัศนที่เขาประดิษฐขึ้นส‹องดูดาวพฤหัสบดี เขาไดŒเห็น จุดสว‹าง 4 จุด อยู‹ใกลŒดวงดาวนั้น จุดสว‹างทั้ง 4 คือ ดวงจันทรบริวารอันไดŒแก‹ Io, Europa, Ganemede และ Calllistro ของดาวพฤหัสบดี การคŒนพบครั้งนั้น เปšนการพบครั้งแรกของมนุษยที่ไดŒเห็นดวงจันทร ที่มิไดŒเปšน บริวารของโลก แต‹เปšนบริวารของดาวเคราะหดวงอื่น
และเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2538 ยานอวกาศ Galileo ไดŒพุ‹งเขŒาโคจรรอบดาวพฤหัสบดี และไดŒเริ่มศึกษา ดาวเคราะหดวงใหญ‹ที่สุดของสุริยจักรวาล ทํ าใหŒเรารูŒว‹า ดาวพฤหัสบดีมีขนาดใหญ‹กว‹าโลกราว 1,300 เท‹า และมีนํ้าหนักมากกว‹าโลกราว 316 เท‹า การมีขนาดใหญ‹เช‹นนี้ ทํ าใหŒมันมีสภาพเหมือนเกราะกํ าบังโลก ใหŒปลอดจากภัย อุกกาบาต หรือดาวหางจากภายนอกโลกไดŒ เพราะดาวหางและอุกกาบาตต‹างๆ หากจะพุ‹งเขŒาชนโลก มันมักจะ ถูกแรงโนŒมถ‹วงอันมหาศาลของดาวพฤหัสบดี ดึงดูดไปหมด ชีวิตต‹างๆ บนโลกจึงอุบัติไดŒจนทุกวันนี้
ตลอดระยะเวลาอันยาวนานร‹วม 400 ป‚ที่ไดŒมีการศึกษาดาวดวงนี้ นักดาราศาสตรคาดคิดว‹าบรรยากาศ บนดาวแบ‹งออก ไดŒเปšน 3 ชั้น คือชั้นนอกสุดนั้นมีผลึกของแอมโมเนีย ชั้นกลางเปšน ammonium hydrosulfide และชั้นในสุดเปšนนํ้า และผลึกนํ้าแข็ง นักดาราศาสตรยังคาดการณต‹อไปอีกว‹า ผิวของดาวพฤหัสบดีมิไดŒแข็ง เหมือนผิวโลก แต‹เปšนของเหลว และที่ระดับลึกลงไป จะมีแกนที่เปšนหินแข็ง เช‹นโลก องคประกอบของดาวส‹วน ใหญ‹จะเปšนไฮโดรเจน และฮีเลียมที่มีสภาพเหมือนเมื่อ 4,500 ลŒานป‚ก‹อนที่กาซทั้งสองชนิด จะเริ่มก‹อตัวเปšนดาว
นักวิทยาศาสตร จึงคาดหวังว‹า หากไดŒมีโอกาส สํ ารวจและศึกษาดาวอย‹างใกลŒชิด เราจะไดŒความรูŒเกี่ยว กับกําเนิดของสุริยจักรวาลอย‹างแทŒจริง
ในป‚ พ.ศ. 2522 สหรัฐไดŒส‹งยาน Viking โคจรผ‹าน และถ‹ายภาพดาวพฤหัสบดี ยานไดŒพบวงแหวนของ ดาว และไดŒพบว‹า ดาวพฤหัสบดีมีดวงจันทรเปšนบริวารทั้งสิ้น 16 ดวง
และในเดือนตุลาคมของป‚ พ.ศ. 2537 ดาวหาง Shoemaker-Levy 9 ไดŒพุ‹งชนดาวพฤหัสบดี ขŒอมูลที่ไดŒ รับจากการสังเกตชี้ใหŒเห็นภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้น หากมีอุบัติเหตุดาวหางพุ‹งเขŒาชนโลก
ยานอวกาศ Galileo ที่กํ าลังโคจร รอบดาวพฤหัสบดีขณะนี้ ไดŒถูกปล†อยจากกระสวยอวกาศ ชื่อ Atlantis เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2532 หลังจากที่ไดŒรอนแรมกลางอวกาศนาน 6 ป‚ ไดŒเดินทางไกล 3,700 ลŒาน กิโลเมตรจากโลก ไดŒประสบอุปสรรคนานาประการ เช‹น เสาอากาศหลักที่ใชŒในการติดต‹อสื่อสารกับโลกไม‹ ทํ างาน และอุปกรณบันทึกขŒอมูล บนยานทํางานไดŒไม‹เต็มประสิทธิภาพ ถึงกระนั้นยานก็ไดŒเดินทางถึงดาวพฤหัสบดี แต‹ 5 เดือนก‹อนที่ยานจะถึงจุดหมายปลายทาง ยานไดŒปล†อยแคปซูลบรรทุกอุปกรณวิทยาศาสตรที่มีนํ้ าหนัก 338 กิโลกรัม ใหŒแยกตัวออกจากยานเพื่อพุ‹งลงสู‹ผิวดาวพฤหัสบดี แคปซูลไดŒพุ‹งทํ ามุม 8 o กับชั้นบรรยากาศของดาว ดŒวยความเร็ว 169,000 กิโลเมตร/ชั่วโมง การเสียดสีกับชั้นบรรยากาศ ทํ าใหŒความเร็วของแคปซูลไดŒลดลงเหลือ 160 กิโลเมตร/ชั่วโมงในเวลาเพียง 4 นาที แรงตŒานมหาศาล ทํ าใหŒอุณหภูมิของแคปซูลสูงกว‹าอุณหภูมิที่ผิวของ ดวงอาทิตยถึงสองเท‹า ร‹มชูชีพบนแคปซูลไดŒกางออกและแคปซูลไดŒลอยตกผ‹านบรรยากาศของดาวอย‹างชŒาๆ พรŒอมกับรายงานขŒอมูลวิทยาศาสตร ไปยังยาน Galileo ที่กำลังโคจรอยู‹เหนือดาวพฤหัสบดี เมื่อแคปซูลไดŒตกลึก ลงไปไดŒระยะทางประมาณ 80 กิโลเมตร ภายในเวลา 58 นาที มันถูกแรงดันมหาศาลของดาว และความรŒอน จากการเสียดสี หลอมละลายอุปกรณทุกชนิดในแคปซูลจนเปšนไอหมด
เมื่อยาน Galileo ไดŒรับขŒอมูลจากแคปซูลแลŒวมันจะไดŒขŒอมูลดังกล‹าวไปยังโลกสัญญาณวิทยุที่เคลื่อนที่ ดŒวยความเร็วแสงใชŒเวลานาน 52 นาที ก็ถึงนักวิทยาศาสตรบนโลก
นักวิทยาศาสตรคาดหวังว‹าจะไดŒขŒอมูลที่บอกลักษณะ ชนิดของแกสและฝุ†นที่เปšนองคประกอบของดาว ขŒอมูลที่ไดŒจะสามารถอธิบายไดŒว‹าเหตุใดเมฆต‹างๆ บนดาวจึงปรากฏเปšนสีเหลือง อะไรคือสาเหตุที่ทํ าใหŒพายุบน ดาวมีความเร็วถึง 400 กิโลเมตร/ชั่วโมง บรรยากาศบนดาวมีเมฆกี่ชั้น อะไรเปšนสาเหตุที่ทํ าใหŒเกิดฟ‡าแลบและฟ‡า รŒองบนดาว และเหตุใดดาวพฤหัสบดีจึงแผ‹รังสีความรŒอนไดŒมากถึง 2 เท‹าของปริมาณที่มันไดŒรับจากดวงอาทิตย
เมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2538 NASA ไดŒรายงาน สภาพดินฟ‡าอากาศเหนือดาวพฤหัสบดี เปšนครั้งแรกว‹าดาวพฤหัสบดีนั้นแหŒงแลŒงกว‹าที่นักวิทยาศาสตรเคยคาดคิด ปริมาณไอนํ้ าก็นŒอยกว‹าที่คาดหวัง และขณะที่แคปซูลไดŒจมลึกลงในชั้นบรรยากาศของดาวนั้นอุปกรณในแคปซูลตรวจ พบว‹า พายุบนดาวยิ่งพัดรุนแรงขึ้นๆ ซึ่งแสดงใหŒเห็นว‹าพลังงานที่ใชŒในการผลักดัน เปšนพลังงานความรŒอนใตŒผิวดาว ผลการสํารวจยังไดŒชี้ ใหŒเห็นว‹า เหตุการณฟ‡าแลบ บนดาวเกิดบ‹อยประมาณ 10% ของที่เคยคาดการณไวŒ ดังนั้น โอกาสที่จะพบอินทรียโมเลกุลในอากาศเหนือดาว จึงนŒอยตามไปด‡วย อุปกรณบนยานมิไดŒตรวจพบชั้นบรรยากาศ 3 ชั้น แต‹พบว‹าบรรยากาศเปšนเนื้อเดียวกันโดยตลอดจึง ทําใหŒผูŒเชี่ยวชาญสงสัยว‹าแคปซูลไดŒตกผ‹านบริเวณที่ปลอดเมฆกระมัง นอกจากนี้ขŒอมูลยังชี้บอกว‹าปริมาณ He, Ne, C และ S บนดาวก็มีนŒอยกว‹าที่นักวิทยาศาสตรไดŒเคยคิดไวŒ โดยเฉพาะอย‹างยิ่ง ความหนาแน‹นของฮีเลียมที่ อยู‹ส‹วนล‹าง ทั้งนี้แสดงว‹าฮีเลียมไดŒกลั่นตัวตกเปšนฝนและในการนี้ พลังงานความรŒอนไดŒถูกปลดปล†อยออกมาทํ า ใหŒดาวพฤหัสบดีแผ‹รังสีอินฟราเรดมาก
ขณะนี้นักวิทยาศาสตรกําลังวิเคราะหขŒอมูลจากแคปซูลต‹อ และยาน Galileo ก็กํ าลังโคจรอยู‹เหนือดาว เพื่อถ‹ายภาพและสํารวจสภาพต‹างๆ ของดาวและดวงจันทรบางดวงต‹ออีกนาน 2 ป‚
ถึงแมŒว‹าการวิเคราะหยังไม‹บรรลุผลสรุป แต‹นักวิทยาศาสตรประจํ าโครงการนี้ไดŒวางแผนจะส‹งยาน อวกาศลําที่สองไปสํารวจดาวพฤหัสบดี ในอนาคตอันใกลŒนี้เรียบรŒอยแลŒวครับ

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)