เจ็ตโดยสารความเร็วสูง

สองพี่นŒองตระกูล Wright ประดิษฐเครื่องบินเครื่องแรกของโลกขึ้นในป‚ พ.ศ. 2446 เครื่องบินของเขาบิน ไดŒไกลประมาณ 100 เมตร อุปกรณที่ใชŒในการบังคับเครื่องประกอบดŒวยลวด ลูกรอก และระบบไฮดรอลิก
ในป‚ พ.ศ. 2546 ที่จะมาถึงนี้ สหรัฐอเมริกาจะสรŒางเครื่องบิน X-30 ที่มีสมรรถภาพในการบินไดŒเร็วถึง 28,000 กิโลเมตร/ชั่วโมง ซึ่งนับว‹าเร็วกว‹าเสียงถึง 25 เท‹า ที่ระดับความสูง 30 กิโลเมตรเหนือพื้นดิน
ขณะนี้บริษัทสรŒางเครื่องบินใหญ‹ๆ ของโลก เช‹น บริษัท Boeing, McDonnell Douglas ของสหรัฐฯ ต‹าง ก็กําลังสรŒางเครื่องบินโดยสารความเร็วสูงดŒวยกันทั้งนั้น
X-30 จะมีลํ าตัวยาว 48.7 เมตร มีความกวŒาง 15.2 เมตร และหนักประมาณ 136 ตัน
ในการบินดŒวยความเร็วสูง เช‹นนี้ แรงเสียดทานของอากาศ จะมาก ดังนั้นวัสดุที่จะใชŒประกอบทํ าเปšนตัว เครื่องบินจะไม‹ใช‹อะลูมิเนียม แต‹จะเปšนวัสดุชนิดใหม‹ที่ไดŒมีการออกแบบใหŒเบา และแข็งแรงทนทานสูงสุด เมื่อ อุณหภูมิสูงถึง 3,000 oC ดังนั้น X-30 จึงตŒองมีระบบระบายถ‹ายเทความรŒอน ที่มีประสิทธิภาพมาก วิศวกรจะใชŒ ไฮโดรเจนเหลวสําหรับการนี้ และจะใชŒเปšนเชื้อเพลิงในขณะเดียวกันอีกดŒวย
ในเครื่องบินธรรมดา เครื่องยนตเทอรไบน จะอัดอากาศ ก‹อนที่จะปล†อยมันเขŒาผสมกับเชื้อเพลิงในหŒอง สันดาป แต‹ในกรณี X-30 กระแสลมเร็วที่พัดพุ‹งเขŒาตัวเครื่อง จะทํ าหนŒาที่เปšนเครื่องอัดอากาศอัตโนมัติ ไฮโดรเจนเหลวเปšนเชื้อเพลิงที่ลุกไหมŒ ใหŒพลังงานไดŒรวดเร็ว ดังนั้น จังหวะจะโคนในการป‡อนเชื้อเพลิงเขŒาเครื่อง ทุกขั้นตอนของการบิน จึงตŒองใชŒเครื่องคอมพิวเตอรควบคุมตลอดเวลา เพราะประสบการณและความชํ านาญ ของนักบินก็ยังเร็วไม‹พอ ขณะที่เครื่องบิน กำลังทะยานเมฆ ดŒวยความเร็วสูงมากเช‹นนี้
เวลาเครื่องบินจะขึ้นหรือลง มุมเงยหรือมุมกŒมของเครื่องบิน จะชันกว‹ากรณีของเครื่องบินธรรมดา เพราะ นักบินมีความ ประสงคจะนำ เครื่องขึ้นถึงระดับสูง โดยใชŒเวลานŒอยที่สุดเท‹าที่จะเปšนไปไดŒ เพื่อประหยัดเชื้อเพลิง และเมื่อถึงระดับความสูง ที่ตŒองการแลŒว ผูŒโดยสารจะไม‹รูŒสึกว‹า เขากํ าลังบินอยู‹เลย เพราะ X-30 ไม‹มีหนŒาต‹างจะ ใหŒโผล‹หนŒาดู ทั้งนี้ก็ดŒวยเหตุผลว‹า หนŒาต‹างจะแตก เวลาเครื่องบินไดŒรับแรงกดดันสูง
ความกังวลใจในประเด็นเสียงโซนิกบูม หรือ การทำลายโอโซนในชั้นบรรยากาศนั้น ก็ไม‹มี เพราะเครื่องบิน ลําที่ว‹านี้บินอยู‹เหนือระดับบรรยากาศชั้นที่มีโอโซน และเสียงบูมก็จะไม‹ปรากฏ เพราะบรรยากาศเบื้องบนเจือจาง มาก นอกจากนี้แลŒวการใชŒไฮโดรเจนเหลวเปšนเชื้อเพลิงใน การทํ างานของเครื่องผลิตผลหลังจากการลุกไหมŒคือไอ นํ้า ซึ่งไม‹เปšนพิษเปšนภัยต‹อสภาพแวดลŒอมแต‹ประการใด
ตกลงเปšนว‹าในอนาคตอันใกลŒนี้ คนเราจะเดินทางไปไหนมาไหน ดŒวยความเร็วสูงมาก ผูŒโดยสารสามารถ รับประทานอาหารเชŒาของวันจันทรไดŒที่นิวยอรก กินอาหารเย็นของวันอังคารไดŒที่ป˜กกิ่ง แลŒวบินกลับมาทันกิน อาหารเย็นของวันจันทรไดŒที่นิวยอรก อีกครั้งหนึ่ง ราคาค‹าเดินทางคงจะไม‹ตŒองพูดถึง คือสูงพอๆ กับความเร็วของ เครื่องบินแน‹
แต‹คุณจะบินใหŒเร็วสักเพียงใดก็ตาม เรื่องที่ชัวรๆ คือคุณจะตŒองใชŒเวลาเปšนชั่วโมงเพื่อใหŒถึงสนามบิน สําหรับเวลาบินจากกรุงเทพฯ ถึงเชียงใหม‹เพียงแค‹ 2 นาที ครับ

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)