หนึ่งศตวรรษแห‹งการคŒนพบฮีเลียม

คุณผูŒอ‹านหลายท‹านคงไม‹รูŒหรอกว‹า ป‚ พ.ศ. 2538 นี้ เปšนป‚ฉลองครบรอบ 100 ป‚ แห‹งการคŒนพบฮีเลียม (Helium) ในสภาพปกติฮีเลียมเปšนแกสที่เบากว‹าอากาศและไม‹ลุกไหมŒ เช‹น ไฮโดรเจน ดังนั้นนักประดิษฐในอดีต จึงนิยมใชŒฮีเลียมบรรจุในบอลลูน เรือเหาะ และลูกโป†ง ป˜จจุบัน NASA ใชŒฮีเลียม เหลวที่มีอุณหภูมิ -269 องศาเซลเซียสเปšนสารหล‹อเลี้ยงใหŒไฮโดรเจน และออกซิเจนคงสภาพเปšนของเหลว เพื่อใชŒเปšนเชื้อเพลิงจรวด นักวิทยาศาสตรใชŒฮีเลียมในเตาปฏิกรณปรมาณู ในอุปกรณตรวจอวัยวะ ภายในร‹างกาย (MRI) ในอุปกรณเชื่อมโลหะและนักดํานํ้าจึงใชŒฮีเลียมผสมกับออกซิเจนในการหายใจ เปšนตŒน
ถึงแมŒว‹าฮีเลียมจะเปšนธาตุที่มีอยู‹อย‹างอุดมสมบูรณมาก เปšนอันดับสองในจักรวาล รองจากไฮโดรเจน คือ คิดเปšน 10% ของนํ้ าหนักทั้งหมด แต‹เราก็ไม‹ไดŒพบฮีเลียมจนกระทั่งเมื่อ 150 ป‚ มานี้เอง
เหตุผลที่เปšนเช‹นนี้เพราะฮีเลียมเปšนธาตุที่เฉื่อย ไม‹กระตือรือรŒนในการทํ าปฏิกิริยากับสารใดๆ จึงทำใหŒสารประกอบที่มีฮีเลียม เปšนองคประกอบมีนŒอยมากในโลก ส‹วนเหตุผลอีกประการหนึ่ง คือ ฮีเลียม มีนํ้ าหนักเบามาก ดังนั้นทันทีที่มันถูกปลดปล†อยออกมา จากหลอดทดลอง มันจะลอยขึ้นเบื้องบนและหายไป ในอวกาศในที่สุด
ฮีเลียมไดŒรับเกียรติว‹าเปšนธาตุๆ เดียวที่มนุษยเรา คŒนพบว‹ามี นอกโลกก‹อนที่จะพบ มันบนโลก N. Lockyer เปšนบุคคลแรกที่ไดŒเห็นฮีเลียมเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2411 ขณะที่เขาใชŒกลŒอง โทรทัศนส‹องดูดวงอาทิตย แลŒววิเคราะหแสงที่ผ‹านมา เขาเห็นเสŒนสเปกตรัม (spectrum) สีเหลืองเสŒนหนึ่งในแถบแสง ซึ่งไม‹มีใครเคยเห็นมาก‹อน เมื่อเขาประกาศว‹า เขาไดŒพบธาตุใหม‹ บนดวงอาทิตย ผลปรากฏว‹าไม‹มีใครเชื่อจนกระทั่งอีก 27 ป‚ต‹อมา William Ramsey นักเคมี ชาวสก็อต ขณะตรวจสอบแกสที่สาร clevite
ปลดปล†อยออกมาไดŒเห็นเสŒนสเปกตรัมของแสง ที่มีลักษณะเดียวกับที่ Lockyer จึงไดŒเครดิต ว‹าเปšนผูŒพบ Helium ผลงานคŒนพบนี้ และการคŒนพบ neon, krypton, xenon ทํ าใหŒ Ramsey ไดŒ รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีในป‚ พ.ศ. 2447
ฮีเลียมเปšนธาตุที่มีคุณสมบัติแปลกและประหลาด เช‹น หากเราทํ าใหŒมันมีอุณหภูมิตํ่ ากว‹า -271 องศา เซลเซียสมันจะ แปรสภาพเปšนของไหลที่ยิ่งยวด (superfluid) ที่สามารถไหล ผ‹านรูเล็กๆ ผ‹านพื้นผิวต‹างๆ รวมทั้ง ไหลขั้นพื้นเอียงไดŒ โดยไม‹มีแรงเสียดทานใดๆ ต‹อตŒานเลย มันไม‹มีวันแข็งตัว ไม‹ว‹าอุณหภูมิจะลดลงตํ่ าสักเพียง ใดก็ตาม และในการนี้ไฟนรกคงดับก‹อนที่ฮีเลียมจะกลายเปšนของแข็ง
ทฤษฎีกําเนิดของจักรวาลที่ชื่อ Big Bang บรรยากาศ เหตุการณขณะจักรวาลถือกํ าเนิดเมื่อ 15,000 ลŒาน ป‚มาแลŒวว‹า ภายในเวลา 3 นาที หลังจากการะเบิดไฮโดรเจน ฮีเลียม และ ลิเซียม จะบังเกิดธาตุเบาเหล‹านี้จะ รวมตัวกันเปšนธาตุหนักเปšนดาว และเปšนกาแลกซี่ในเวลาต‹อมา
ในที่ประชุมของ American Astronomical Society ที่เมือง Pittoburgh ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2538 A.F. Davidsen แห‹งมหาวิทยาลัย John Hopkins และคณะไดŒรายงานว‹า เขาไดŒพบร‹องรอยของแกสฮีเลียมที่เปšนอิออน (ion) ปริมาณมากในอวกาศ ขณะที่จักรวาล มีอายุไดŒ 5,000 ลŒานป‚
การคŒนพบนี้สนับสนุนทฤษฎี Big Bang ทุกประการ ถึงแมŒว‹าฮีเลียมที่พบจะมีความหนาแน‹น นŒอย แต‹มันก็มีนํ้าหนักมากประมาณ 8 เท‹า ของนํ้ าหนักดาว และเดือนในกาแล็กซี่ทั้งหมด ในจักรวาลรวมกัน
หนึ่งศตวรรษที่ผ‹านมาเราใชŒฮีเลียมเพิ่มขึ้น 5-10% ทุกป‚ เมื่อป‚กลายนี้โลกใชŒฮีเลียม 100 ลŒาน ลูกบาศกเมตร และขณะนี้ตŒนกํ าเนิดของฮีเลียมอันไดŒแก‹ธาตุกัมมันตรังสีกําลังสึกหรอ เราก็หวังว‹า เราจะมี เทคโนโลยีสรŒางฮีเลียมที่ดีในอนาคต เพื่อว‹าเมื่อป‚ 2638 มาถึงเราก็ยังคงมีฮีเลียมใชŒในการเฉลิมฉลอง สองรŒอยป‚แห‹งการคŒนพบฮีเลียมครับ

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)