ทองคํา :  อัญมณีแห‹งชีวิต
Empedocles นักปราชญชาติกรีกไดŒ เคยกล‹าวไวŒว‹า ทองคํ ามีอิทธิพล และอํานาจเหนือ เหตุผลสําหรับคนบางคน คํ ากล‹าวนี้เปšนจริงสําหรับมนุษย ตั้งแต‹สมัยโบราณ เพราะหลักฐานทางประวัติศาสตร ไดŒแสดงใหŒเห็นว‹า ตัณหาของมนุษยในการที่มุ‹งครอบครอง ทองคํ า ไดŒผลักดันมนุษยใหŒแสวงหาอาณานิคม ทํ าสงคราม และสรŒางอารยธรรม ดังจะเห็นไดŒ จากการที่พระราชวังฟาโรห แห‹งอียิปตŠมีเครื่องใชŒที่ทํ าดŒวย ทองคํ ามากมาย และแมŒแต‹ มัมมี่ก็ยังมีการปดทองตามตัว หลักฐานลักษณะนี้แสดงใหŒเห็นว‹า ชาวอียิปตŠโบราณรูŒจัก ทําทองคําเปลวมาตั้งแต‹สมัยก‹อนพุทธกาลถึง 2,000 ป‚ ในคัมภีรไบเบิลของคริสตศาสนา ก็มีเรื่องเล‹าว‹ากษัตริย Solomon ทรงประทับราชบัลลังก ที่ทํ าดŒวยทองคํ า ขณะทรงตŒอนรับพระราชินี Sheba และนายพล Pisarro ของสเปน เมื่อไดŒเห็นพระราชวังทองคําของชนเผ‹า Aztec และ Inca ไดŒเขŒาบุกปล‡นขน มหาสมบัติของชนพื้นเมืองเหล‹านั้น นํากลับสู‹ยุโรปจนหมดสิ้น
ป˜จจบันมนุษยรูŒจักทองคํามาทําอุปกรณ เครื่องใชŒเครื่องประดับ และอุปกรณวิทยาศาสตรต‹างๆ แต‹ความพยายามใดๆ ที่จะทํ าใหŒทองคําทําุปฏิกิริยาเคมี กับธาตุอื่นๆ เพื่อใหŒมันเปšนประโยชนต‹อมนุษย มากขึ้น ตŒองประสบอุปสรรค เพราะทองคํ าเปšนโลหะ ที่มีตระกูล (noble metal) คือมันจะไม‹เกลือกกลั้ว กับธาตุอื่นๆ เลย (เหมือนดอกฟ‡าที่ไม‹ยอมใหŒชาวดินสัมผัสยังไงยังงั้น) ดังนั้นหากเราใชŒทองคํ าเคลือบวัสดุอะไรก็ตาม ออกซิเจน ที่มีในอากาศ จะไม‹มีวันเขŒาทํา ปฏิกิริยา ดังนั้น ทองคำจะสุกปลั่งและส‹องแสงแวววาวตลอดเวลา และนี่ก็คือเหตุผล สํ าคัญ ที่ทํ าให้มนุษยชอบทองคำเป็นชีวิตจิตใจ
ในการที่จะตอบคําถามว‹า เหตุใดทองคําจึงมีคุณสมบัติเช‹นนี้ J.K. Norskov แห‹งมหาวิทยาลัยเดนมารก ไดŒศึกษาปฏิกิริยา ระหว‹างอะตอมของไฮโดรเจนกับทองคํ า และไดŒพบว‹าเมื่ออะตอมของไฮโดรเจนเคลื่อนที่เขŒา ใกลŒผิวที่ฉาบดŒวยอะตอมของทองคํ า แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้นระหว‹างอะตอม ทั้งสองจะนŒอย อะตอมของไฮโดรเจน จึงไถลไปบนผิวหนŒาของอะตอมทองคํา จนไม‹สามารถเกาะติดไดŒอย‹างถาวรเลย สาเหตุสํ าคัญ ที่ทํ าใหŒอะตอมของทองคํามีพฤติกรรมเช‹นนี้ คือ การที่มันทีอิเล็กตรอนอยู‹เต็มวงโคจร จนไม‹มีที่ว‹างใหŒอิเล็กตรอนจากอะตอมของธาตุ อื่น มาสอดเสียบไดŒเลย อะตอมของ ทองคํ ากับอะตอมของธาตุอื่นจึงไม‹ทําปฏิกิริยา เคมีกัน
ส‹วนนักธรณีวิทยา ก็มีความสนใจที่จะหาหลักการ หรือวิธีการที่สามารถจะชี้บอก ไดŒว‹าบริเวณใดมีแร‹ทอง คําหรือไม‹ หรือหากมีมีมากหรือนŒอยเพียงใด
R.Bodnar แห‹ง Virginia Polytechnic Institute ในสหรัฐอเมริกาไดŒพบว‹าในการระเบิด ของภูเขาไฟ ในแต‹ละครั้ง หินแข็งหรือลาวาเหลว หรือ กาซที่พวยพุ‹งออกมา จากปากปล†องภูเขาไฟ สามารถจะชี้ บอกใหŒเรารูŒว‹าบริเวณใกลŒ หรือใตŒภูเขาไฟลูกนั้นๆ มีแร‹อะไรบŒาง Bodnar เชื่อว‹าการเขŒาใจกระบวนการเคมี ธรณีของธาตุ ของนํ้ าใตŒดิน สามารถช‹วยใหŒนักธรณีวิทยาบอกบริษัทเหมืองแร‹ ไดŒว‹าตํ าแหน‹งใดมีโอกาสที่จะมี ทองคําซุกซ‹อนอยู‹เบื้องล‹างมากที่สุด และเขาก็ไดŒพบว‹าตามภูเขาไฟบนเกาะต‹างๆ ของฟลิปปนสที่อยู‹เรียงกัน เปšนแถว และภูเขาไฟที่อยู‹ตามทิวเขา Andes ของทวีปอเมริกาใตŒเปšนพื้นที่ที่บริษัทขุดทอง น‹าจะใหŒความสนใจ
โดย Bodnar ไดŒศึกษาผลึกหินควอทซ ขนาดเสŒนผ‹าศูนยกลาง 0.03 มิลลิเมตร ที่แฝงมากับลาวาหิน และแร‹ธาตุต‹างๆ และเขาไดŒพบว‹าในลาวาเหลว ตามปกติ จะมี ทั้งนํ้ าและแร‹ แต‹การที่ทํ าใหŒนํ้าและแร‹ปนกัน อย‹างกลมกลืนนั้นใตŒโลกจะตŒองมีความรŒอน และความดันมหาศาล ที่ระดับลึกกว‹า 20 กิโลเมตรลงไป นํ้ า และแร‹จะ ปนกันดี แต‹เมื่อนํ้าแร‹นี้ไหลขึ้นมาๆ ความดัน ที่กระทํ าต‹อนํ้าแร‹จะนŒอยลงๆ แร‹ และนํ้ าจะเริ่มแยกจากกัน และเมื่อแร‹ต‹างชนิดกัน ตกผลึกที่ระดับลึกไม‹เท‹ากัน ชนิดของผลึกหินและแร‹ต‹างๆ ที่มีขนาดเล็กๆ นี้สามารถชี้ บอกสภาพของแร‹ใตŒดินไดŒ
Bodnar ไดŒเปรียบเทียบองคประกอบของผลึกหิน ที่ขุดไดŒจากหลายบริเวณ กับผลึกหินที่ไดŒ จากบริเวณ ที่ขุดพบว‹ามีทองคําอยู‹แลŒว โดยอาศัยขŒอมูลเหล‹านี้เขาเชื่อว‹าเขาสามารถบอกไดŒว‹า บริษัทขุดทองควรลงทุนขุด ณ ที่ใด
กษัตริย Midas ในเทพนิยายของเด็กๆ ไดŒทรงใชŒวิธีสัมผัสดŒวยมือ เพื่อทํ าใหŒสรรพสิ่งทั้งหลาย กลายเปšนทอง แลŒวพระองคก็ทรงร่ำรวย แต‹ในชีวิตจริงนั้น หากเราจะคิดรวย ก็ตŒองวิ่งหาภูเขาไฟสักลูกสอง ลูกก็คงรวยไดŒบŒางเหมือนกัน

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)