พบดาวเคราะห์ต่างจักรวาล
สุริยจักรวาลของเราประกอบดŒวยดวงอาทิตย ซึ่งเปšนดาวฤกษหนึ่งดวง และดาวเคราะหอีก 9 ดวง ดาว เคราะหเหล‹านี้มีดวงจันทรเปšนบริวารทั้งสิ้น รวม 63 ดวง นอกจากดาวเคราะหเหล‹านี้แลŒวสุริยจักรวาลยังมีดาว หางอีกนับพันและดาวเคราะหนŒอยต‹างๆ อีกนับหมื่น
สํ าหรับคํ าถามที่ว‹า จากดาวฤกษที่มีอยู‹ในจักรวาล (universe) จํ านวนพัน ลŒาน ลŒาน ลŒาน ลŒาน ลŒาน ลŒาน ลŒาน ลŒาน ลŒาน (10 57 ) ดวงนั้น มีดาวฤกษดวงใดบŒางที่มีดาวเคราะหเปšนบริวาร
คําถามนี้เปšนคําถามที่ไม‹มีนักดาราศาสตรคนใด ตอบไดŒอย‹างมั่นใจ 100% เพราะแมŒแต‹กลŒองโทรทัศนที่มี กําลังสูงที่สุด ในป˜จจุบันก็ยังไม‹เคยเห็นดาวเคราะหที่ใครๆ ฝ˜นถึงอย‹างจะๆ เลย
ดวงอาทิตยของเราเปšนดาวฤกษขนาดธรรมดา มีสภาพ และคุณสมบัติที่ไม‹แตกต‹างจากดาวฤกษดวง อื่นๆ เราสามารถศึกษาหาขŒอมูลต‹างๆ เกี่ยวกับดาวดวงนี้ เช‹น จุดดับ corona ส‹วนประกอบและปฏิกิริยา นิวเคลียรบนดวงอาทิตยไดŒอย‹างละเอียด เพราะดวงอาทิตยอยู‹ใกลŒโลกของเรามาก (150 ลŒานกิโลเมตร) แต‹ดาว ฤกษดวงอื่นๆ อยู‹ไกลเสียจนแสงตŒองใชŒเวลาในการเดินทางจากดาวมาสู‹เรานานเปšนป‚ ดาว Proxima Centauri ที่ พบในป‚ พ.ศ. 2458 เปšนดาวฤกษที่อยู‹ใกลŒโลกมากที่สุด (42 ลŒาน ลŒานกิโลเมตร = 4 ป‚แสง) ตามธรรมดาในการ บันทึกภาพของดาวฤกษบนฟลมถ‹ายภาพ เราจะเห็นเพียงจุดสว‹างเล็กๆ ดังนั้นหากดาวฤกษมีดาวเคราะหเปšน บริวาร ประกายแสงที่สว‹างจŒา ของดาวฤกษจะบดบังแสงสะทŒอนจากดาวเคราะหหมด (ดาวเคราะหไม‹มีแสงสว‹าง ในตัวเอง แสงจากดาวเคราะหเปšนแสงที่ไดŒรับจากดาวฤกษ) เท‹านั้นยังไม‹พอ แสงจากดาวทุกดวง ขณะผ‹าน บรรยากาศของโลก จะถูกเมฆ หมอก ไอนํ้ า และอากาศที่แปรปรวนรบกวนทําใหŒภาพของดาวไม‹ชัด ภาพของ ดาวเคราะหที่มีรัศมีวงโคจรรอบดาวฤกษสั้น เมื่อเปรียบเทียบกับระยะทางที่ดาวฤกษอยู‹ห‹างจากโลก จะซŒอนทับ บนภาพของดาวฤกษหมด และนี่ก็คือเหตุผลว‹าเหตุใดนับ ตั้งแต‹มนุษยไดŒถือกํ าเนิดมาบนโลก เราจึงยังไม‹พบดาว เคราะหอื่นใดอีกเลย นอกจากดาวนพเคราะหของสุริยจักรวาลที่มีดวงอาทิตยเปšนจุดศูนยกลาง
หนŒาที่หลักหนŒาที่หนึ่งของกลŒองโทรทัศน Hubble คือ คŒนหาดาวเคราะหต‹างจักรวาล แต‹จากดาวฤกษที่ มี 10 57 ดวงนั้น เราจะใหŒ Hubble ตรวจหาดาวเคราะหรอบดาวฤกษดวงนั้น
โครงการ ASEPS (Astronomical Studies of Extrasolar Planetary Systems) ของ NASA ไดŒถูกจัดตั้ง ขึ้น เพื่อคŒนหาดาวเคราะหนอกระบบสุริยะ และเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2537 ASEPS ไดŒจัดประชุมเชิงปฏิบัติ การที่ Jet Propulsion Laboratory เพื่อคŒนหาวิธีที่ดีที่สุดในการตรวจหาดาวเคราะห
กระบวนการหนึ่งที่นักดาราศาสตรใชŒในการตรวจหา ดาวเคราะหอาศัยความจริงที่ว‹า หากดาวฤกษมีดาว เคราะหเปšนบริวารจริงๆ ดาวทั้งสองจะดึงดูดกัน แรงดึงดูดทํ าใหŒดาวฤกษและดาวเคราะหโคจรไปรอบจุดศูนย กลางมวลของระบบดาวคู‹นั้น ยกตัวอย‹างกรณีของดวงอาทิตยกับดาวพฤหัสบดี นํ้ าหนักมหาศาลของดาว พฤหัสบดีจะทําใหŒดวงอาทิตยเคลื่อนที่ดŒวยความเร็ว 12 เมตร/วินาที รอบจุดศูนยกลางมวล ความเร็วนี้ทํ าใหŒ แสง จากดวงอาทิตยที่พุ‹งมาสู‹โลกเปลี่ยนความยาวคลื่น ความยาวคลื่นที่เปลี่ยนแปลงจะมากหรือนŒอยเพียงใดขึ้น กับความเร็วของดวงอาทิตย ดังนั้น หากเราตรวจพบว‹าแสงจากดวงอาทิตยมีความยาวคลื่นเปลี่ยนแปลงไป 0.0003% เราก็สามารถจะอนุมาณไดŒว‹าดวงอาทิตยมีดาวพฤหัสบดีเปšนบริวาร โดยไม‹ตŒองเห็นดาวพฤหัสบดี จริง
การจับตาดูดาวฤกษขณะดาวเคราะหเคลื่อนที่ ผ‹านก็เปšนหนทางหนึ่ง ที่เราสามารถใชŒในการตรวจหาดาว เคราะห เพราะ ความสว‹างจากดาวฤกษจะลดนŒอยลงเมื่อถูกดาวเคราะหบดบัง แต‹วิธีนี้ไม‹ค‹อยจะไดŒผล เพราะผูŒ สังเกตตŒองจับตาดูดาวฤกษ ตลอดชั่วโมง ตลอดวัน ตลอดป‚ และตลอดไป
เมื่อตŒนเดือนตุลาคม พ.ศ. 2537 M. Mayor แห‹ง Geneva Observatory ในประเทศสวิสเซอรแลนดไดŒ ประกาศว‹า เขาและคณะไดŒพบดาวเคราะหดวงหนึ่งโคจรรอบดาว 51 Pegasi ในหมู‹ดาว Pegasus ดาวเคราะห ดวงนี้อยู‹ห‹างจากโลก 40 ป‚แสง มีนํ้ าหนักประมาณครึ่งหนึ่งของดาวพฤหัสบดี มีรัศมีวงโคจร 7.5 ลŒานกิโลเมตร และมีอุณหภูมิที่ผิวสูงถึง 1,200 องศา ผลการคŒนพบนี้ไดŒรับการยืนยันจาก Lick Observatory ในอเมริกา
วิทยาการใหม‹ดŒาน ดาวเคราะหต‹างจักรวาลไดŒถือกํ าเนิดแลŒวครับ

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)