ธาตุที่ 106
โลกเรานี้มีธาตุรวมทั้งสิ้น 92 ชนิด ไฮโดรเจนเปšนธาตุที่เบาที่สุดมีสัญลักษณทางเคมีเปšน H และมีเลข อะตอมเปšน 1 เพราะไฮโดรเจนมีอนุภาคโปรตอนในนิวเคลียส 1 ตัว ธาตุยูเรเนียมมีสัญลักษณทางเคมีเปšน U มี เลขอะตอมเปšน 92 เพราะนิวเคลียสของยูเรเนียมมีโปรตอน 92 ตัว ธาตุ ทั้ง 92 ชนิด นี้เปšนธาตุที่มีในธรรมชาติ อย‹างไรก็ตามนักฟสิกสไดŒพบว‹า มนุษยเราสามารถประดิษฐธาตุใหม‹ไดŒโดยการระดมยิงนิวเคลียสของธาตุหนึ่ง ดŒวยนิวเคลียสของธาตุอีกชนิดหนึ่ง หาก “กระสุน” ที่ใชŒยิงมีพลังงานพอเหมาะพอดี นิวเคลียสของธาตุทั้งสองจะ หลอมรวมกันเปšนนิวเคลียสของธาตุใหม‹ หากพลังงานของกระสุน ต่ำกว‹าที่กําหนดนิวเคลียสทั้งสองจะยังคงอยู่ แยกกัน แต‹หากพลังงานของกระสุนสูงจนเกินไป นิวเคลียสที่เปšนเป‡าจะถูกยิง จนตัวมันแตกกระจุยกระจาย
นับเปšนเวลานานกว‹า 50 ป‚แลŒวที่นักวิทยาศาสตร ไดŒพยายามประดิษฐธาตุที่หนักกว‹ายูเรเนียม คือธาตุที่มีเลขอะตอมตั้งแต‹ 93 ขึ้นไป ความยากลํ าบากในการรูŒพลังงานที่เหมาะสมของนิวเคลียสคู‹กรณี และความยาก ลําเค็ญในการตรวจจับนิวเคลียสที่เกิดขึ้นใหม‹ เพราะมันสลายตัวในเวลารวดเร็วเปšนอุปสรรคสํ าคัญของวิทยา การดŒานนี้
ป˜จจุบันงานสรŒางธาตุตั้งแต‹ neptunium ซึ่งเปšนธาตุที่ 93 จนกระทั่งถึง meitnerium ซึ่งเปšน ธาตุที่ 109 เปšนผลงานของนักวิทยาศาสตรจากศูนยวิจัย 3 แห‹ง คือ University of California ที่ Berkeley ในสหรัฐอเมริกา Joint Institute of Nuclear Research ที่ Durban ในรัสเซีย และ Laboratory for Heavy Ion Research ที่ Darmstadt ในเยอรมนี
ในป‚ พ.ศ. 2517 G. Seaborg นักเคมีชาวสหรัฐฯ ผูŒพิชิตรางวัลโนเบลสาขาเคมี จากผลงานการสรŒางธาตุ plutonium และธาตุอื่นๆ อีก 9 ธาตุ อันไดŒแก‹ americium, curium, berkelium, californium, einsteinium, fermium, medelevium และ nobelium ไดŒระดมยิงนิวเคลียสของธาตุ californium-249 ดŒวยนิวเคลียสของธาตุ ออกซิเจน-18 เขาไดŒพบธาตุใหม‹ ซึ่งนิวเคลียสของธาตุนี้มีโปรตอน 106 ตัว และมีนิวตรอน 157 ตัว
แต‹ในเวลาต‹อมาทีมวิจัยของรัสเซียอŒางว‹า ธาตุที่ 106 นี้มีนิวตรอน 154 ตัว ในนิวเคลียสนี่เปšนเหตุผล ที่ทํ าใหŒการตั้งชื่อธาตุที่ 106 เปšนป˜ญหาว‹าใครเปšนผูŒคŒนพบธาตุนี้เปšนคนแรก
เมื่อตŒนป‚ พ.ศ. 2538 International Union of Pure and Applied Physics ไดŒลงมติตัดสิน ใหŒทีมนักวิทยาศาสตรชาติอเมริกันชนะในที่ประชุมของ American Chemical Society เมื่อวันที่ 13 มีนาคมนี้ ที่ประชุมไดŒรับทราบชื่อของธาตุใหม‹ว‹า Seaborgium ตามชื่อของ G. Seaborg และมีสัญลักษณ ทางเคมีว‹า Sg
การผสมพันธุสัตว แลŒวไดŒพันธุสัตวใหม‹เปšนเรื่องที่น‹าสนใจ น‹าตื่นเตŒนสํ าหรับนักวิทยาศาสตร เพียงใดการสังเคราะหธาตุ ใหม‹ การสรŒางสสารชนิดใหม‹ก็เปšนเรื่องที่น‹าตื่นเตŒน สํ าหรับนักเคมีและนักฟสิกส เพียงนั้น
จะยังไงๆ ก็ตาม เราก็ยังหวังว‹านักชีววิทยาคงไม‹บังเอิญสรŒางสสารชนิด Lee-Wick ในหลอดทดลองขึ้นมา เพราะสสารชนิดนี้หากมีจริง มันจะดึงดูดสสารทุกชนิดรอบขŒางมัน ตั้งแต‹หลอดทดลอง หŒองทดลอง นักทดลอง ผูŒ คนทั้งประเทศและโลกเขŒาหาหลอมรวมกันเปšนหนึ่งเดียว
นักฟสิกสทฤษฎีพบว‹า สสารชนิด Lee-Wick นี้ไม‹มีโอกาสเกิดไดŒบนโลก แต‹บนดวงดาวอื่นไม‹แน‹ เพราะฉะนั้นเราๆ สบายใจไดŒครับ

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)