วิกฤตฮีเลียม
ในสภาพปกติฮีเลียม (helium) เปšนแกสที่หนักกว‹า ไฮโดรเจนแต‹เบากว‹าอากาศ จากการมีคุณสมบัติที่ เบากว‹าอากาศและที่ไม‹สามารถติดไฟลุกไหมŒไดŒ ทํ าใหŒวิศวกรในอดีตนิยมใชŒฮีเลียมบรรจุในบอลลูน เรือเหาะ และลูกโป่ง
อาจจะเปšนเรื่องแปลกที่ ถึงแมŒว‹าจักรวาลของเราจะมีฮีเลียมอุดมสมบูรณ เปšนอันดับสองรองจาก ไฮโดรเจนก็ตาม แต‹มนุษยก็เพิ่งพบฮีเลียมเมื่อ 100 ป‚มานี้เอง สาเหตุที่เปšนเช‹นนี้เพราะฮีเลียมเปšนแกสเฉื่อยที่ไม‹ กระตือรือรŒนในการทําปฏิกิริยากับธาตุใดๆ ดังนั้นสารประกอบที่มีฮีเลียมเปšนองคประกอบในธรรมชาติจึงมีนŒอย ส‹วนเหตุผลอีกประการหนึ่งก็คือ เวลาธาตุกัมมันตรังสีปลดปล†อยฮีเลียมออกมา มันจะลอยละลิ่วขึ้นเบื้องบน และ หายไปในที่สุด
ในป‚ พ.ศ. 2411 J. Janssen นักดาราศาสตรชาวฝรั่งเศสไดŒเห็นสเปกตรัม (spectrum) เสŒนสีเหลือง ขณะที่เขากําลังสังเกตดูสุริยุปราคาเต็มดวงในประเทศอินเดีย เขาแถลงว‹า สเปกตรัมเสŒนที่เขาเห็นมาจากการแผ‹รังสีของธาตุ บนดวงอาทิตย ซึ่งธาตุนั้นยังไม‹มีใครพบเห็นบนโลกเลย ผลการสังเกตของเขาไดŒรับการยืนยันจาก J.N. Lockyer เมื่อวัน ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2411 Lockyer จึงเสนอใหŒมีการตั้งชื่อธาตุใหม‹ว‹า helium ซึ่งเปšนคํ าที่มีรากศัพทมาจากคํ าว‹า helios ในภาษากรีก ที่แปลว‹า ดวงอาทิตย์
อีก 27 ป‚ต‹อมา W. Ramsay นักเคมีชาวสก็อตไดŒพบฮีเลียมบนโลกว‹าเปšนธาตุที่ไดŒจากการสลายตัวของ ยูเรเนียมในแร‹ clevite ในเวลาต‹อมาก็ไดŒมีการพบแกสฮีเลียมในบ‹อนํ้ ามันหลายแห‹งในประเทศสหรัฐอเมริกาและ แคนาดา Ramsay จึงไดŒรับการยกย‹องว‹าเปšนผูŒพบฮีเลียม การคŒนพบแกสนี้ และแกสเฉื่อยอื่นๆ เช‹น neon, krypton และ xenon ทํ าใหŒ Ramsay ไดŒรับรางวัลโนเบลสาขาเคมีในป‚ พ.ศ. 2447
ฮีเลียมเปšนแกสชนิดสุดทŒายที่มนุษยสามารถทําใหŒมันกลั่นตัว เปšนของเหลว ทั้งนี้เพราะจุดเดือดของมัน ตํ่ ามากถึง -271 องศา เซลเซียส ฮีเลียมเหลวมีสภาพเปšนของไหลยิ่งยวด (superfluid) เพราะมันสามารถจะไหล ผ‹านรูแคบเล็กหรือไหลขึ้นตามผนังภาชนะไดŒโดยไม‹มีแรงหนืดใดๆ ต‹อตŒานเลย นักฟสิกสเชื่อว‹าไม‹มีฮีเลียมแข็งใน จักรวาล ป˜จจุบันฮีเลียมมีความสํ าคัญมาก นักวิทยาศาสตรนิยมใชŒฮีเลียมเหลวเปšนสารหล‹อเลี้ยงใหŒไฮโดรเจน และออกซิเจนคงสภาพเปšนของเหลวเพื่อใชŒในการขับเคลื่อนจรวด วิศวกรใชŒฮีเลียมเหลวในเตาปฏิกรณปรมาณู แพทยใชŒฮีเลียมเหลวในอุปกรณถ‹ายภาพอวัยวะภายในร‹างกาย ช‹างใชŒฮีเลียมเหลวในอุปกรณเชื่อมโลหะ นัก ประดานํ้าลึกนิยมใชŒฮีเลียมผสมกับออกซิเจนเพื่อความปลอดภัยในการหายใจ นักฟสิกสใชŒฮีเลียมเหลวในการทํ า ตัวนํ ายิ่งยวด เปšนต้น
ความวิตกกังวลของวงการวิทยาศาสตรขณะนี้มีว‹า หากมีการใชŒฮีเลียมอย‹างฟุ†มเฟ„อยและไม‹ระมัดระวัง อีกไม‹นานฮีเลียมจะหมดโลก เมื่อเร็วๆ นี้ American Physical Society ไดŒออกแถลงการณเตือนรัฐบาลสหรัฐ อเมริกาใหŒตระหนักถึงวิกฤติการณ ฮีเลียมที่กํ าลังจะเกิดขึ้น
เพราะหนึ่งศตวรรษที่ผ‹านมานั้น ปริมาณการใชŒฮีเลียม ไดŒเพิ่มขึ้น 5-10 เปอรเซ็นตทุกป‚ เมื่อป‚กลายโลก ใชŒฮีเลียม 100 ลŒานลูกบาศกเมตร และในทุกป‚บริษัทนํ้ ามันจะเก็บสะสมฮีเลียมไดŒประมาณ 120 ลŒานลูกบาศก เมตร เมื่อตŒนกํ าเนิดฮีเลียมอันไดŒแก‹ สารกัมมันตรังสีร‹อยหรอไป จึงเปšนการชี้ชัดว‹าอีกไม‹นาน คือภายในป‚ พ.ศ. 2560 ฮีเลียมจะหมดโลก
ขณะนี้นักวิทยาศาสตรยังไม‹พบวิธีสกัดฮีเลียม โดยตรง จากอากาศ โดยเสียค‹าใชŒจ‹ายถูก
สมาคมฟสิกสของสหรัฐฯ จึงไดŒขอรŒองใหŒรัฐบาลสหรัฐฯ เห็นความสํ าคัญของป˜ญหานี้ และใหŒดํ าเนินการ แกŒไขโดยมอบใหŒ Bureau of Mines ทํ าหนŒาที่เก็บสะสมและหาหนทางเพิ่มปริมาณฮีเลียมของโลก โดยใชŒเงิน 3,000 ลŒานบาทต‹อป‚ ซื้อฮีเลียมที่บริษัทผลิตนํ้ ามันทิ้งมาสะสม
หาไม‹ วันใดขาดมันแลŒวเราทุกคนจะรูŒสึกครับ

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)