สรŒางธาตุ
เมื่อ 450 ป‚ก‹อนคริสตกาล Empedocles นักปราชญชาติกรีกไดŒเคยสอนไวŒว‹าสรรพสิ่งทั้งหลาย ในโลกนี้ประกอบดŒวยธาตุ 4 ชนิด คือ ดิน นํ้ า ลม และไฟ ในเวลาต‹อมา Aristotle ไดŒเพิ่มเติมความคิดนี้ว‹า นอกจากในโลกจะมีธาตุทั้ง 4 ชนิดแลŒว นอกโลกยังมีธาตุอีกชนิดหนึ่งที่เรียกว‹า ether ดŒวย
และอีก 2,000 ป‚ต‹อมานักวิทยาศาสตรไดŒทดสอบความคิดเรื่ององคประกอบของโลกนี้และพบว‹าผิด เพราะลมหรืออากาศนั้น แทŒที่จริงแลŒวยังประกอบดŒวย ออกซิเจนและไนโตรเจนหรือนํ้า ก็ประกอบดŒวย ไฮโดรเจนและออกซิเจนหรือดินประกอบดŒวยซิลิกอน ออกซิเจน ไนโตรเจนและธาตุอื่นๆ อีกหลายธาตุ ส‹วน ether นั้น นักฟสิกสก็ไดŒพบเมื่อประมาณ 100 ป‚มานี้ ว‹า ไม‹มี ไม‹มี และไม‹มี
คํ าถามที่ติดตามมาคือ ในบรรดาสสารต‹างๆ ที่เราเห็นและสัมผัสไดŒนั้น เราสามารถจะรูŒไดŒอย‹างไร ว‹ามันประกอบดŒวยธาตุอะไรบŒางในการตอบคําถามนี้ Robert Boyle นักเคมีชาวอังกฤษ ไดŒใหŒคํ าจํ ากัดความ ของธาตุไวŒเมื่อประมาณ 336 ป‚ก‹อนนี้ว‹า ธาตุ คือสิ่งที่เราไม‹สามารถแบ‹งแยกทาง โดยกระบวนการทางเคมี ออกเปšนส‹วนประกอบที่เล็กกว‹าลงไป นักวิทยาศาสตรเรียกสิ่งที่สุดของธาตุว‹าอะตอม (atom)
ทุกวันนี้นักวิทยาศาสตรไดŒพบว‹ามีธาตุทั้งหมด 94 ชนิดในธรรมชาติ และในบรรดาธาตุธรรมชาติทั้งหมดนี้ ไฮโดรเจนเปšนธาตุที่เบาที่สุด และพลูโตเนียมเปšนธาตุที่หนักที่สุด และเขายังรูŒอีกว‹าอะตอมของธาตุที่ต‹างกันจะมี รูปร†างและคุณสมบัติที่ไม‹เหมือนกัน เช‹นเดียวกับกรณีบŒานคนที่มีหŒองเดียว และปราสาทของมหาเศรษฐีก็มีหŒอง ไดŒหลายหŒอง สํ าหรับกรณีอะตอมของไฮโดรเจนที่เบาที่สุด และเล็กที่สุดนั้นมีอนุภาคโปรตอน (proton) หนึ่งตัว และอิเล็กตรอน (electron) หนึ่งตัวโคจรอยู‹รอบๆ ส‹วนอะตอมของยูเรเนียมจะมีโปรตอน 92 ตัว และอนุภาค นิวตรอน (neutron) 146 ตัว รวมกันอยู‹ที่แกน (nucleus) และมีอิเล็กตรอน 92 ตัว โคจรอยู‹รอบๆ อะตอมของธาตุ เหล‹านี้เวลาทําปฏิกิริยาเคมีกันจะมีโมเลกุล(molecule) ใหม‹เกิดขึ้น ยกตัวอย‹างเช‹น โมเลกุลนํ้ าทุกโมเลกุลจะ ประกอบดŒวย ไฮโดรเจน 2 อะตอม และออกซิเจน 1 อะตอม หรือโมเลกุล ของ DNA จะมีอะตอมของธาตุต‹างๆ ถึง แสนลŒานอะตอม เปšนตŒน
นอกจากธาตุทั้ง 94 ชนิดที่มีในธรรมชาติแลŒว นักวิทยาศาสตรยังไดŒประสบความสํ าเร็จในการสังเคราะห ธาตุใหม‹ๆ ขึ้นมาอีก 18 ธาตุ ซึ่งธาตุประดิษฐเหล‹านี้ไดŒแก‹ Americium(95), Curium(96), Berkelium(97), Californium(98), Einsteinium(99), Fermium(100), Mendelevium(101), Nobelium(102), Lawrencium(103), Rutherfordium(104), Dubnium(105), Seaborgium(106), Bohrium(107), Hassium(108) และ Meitnerium (109) ส‹วนธาตุอีก 3 ธาตุที่เหลือคือธาตุที่ 110, 111 และ 112 นั้น ยังไม‹ไดŒรับการตั้งชื่อ ย‹างเปšนทางการ
สําหรับวิธีการที่นักวิทยาศาสตร ใชŒในการสังเคราะหธาตุใหม‹ๆ ก็คือใชŒวิธีระดมยิงอะตอมของธาตุหนึ่งดŒวย อะตอมของอีกธาตุหนึ่ง เช‹นในการสังเคราะหธาตุ ที่ 112 เมื่อป‚กลายนี้ นักวิทยาศาสตรที่สถาบัน Heavy ion Research ที่เมือง Darm stadt ในประเทศเยอรมนีไดŒใชŒอะตอมของสังกะสี (zinc 30) จํ านวน 5 ลŒาน ลŒาน ลŒาน อะตอม ยิงอะตอมของตะกั่ว (lead82) ในการยิงครั้งนั้น อะตอมของสังกะสีมีความเร็วสูง 112 ลŒาน กิโลเมตร/ชั่ว โมง ผลการยิงปรากฏว‹าไดŒอะตอมของธาตุ 112 2 อะตอม และอะตอมของธาตุที่เกิดใหม‹นี้อายุขัยอยู‹ไดŒนานถึง 0.0028 วินาทีก็สลายตัวไป
การทดลองสังเคราะหธาตุใหม‹ที่ผ‹านมาทุกครั้งไดŒแสดงใหŒเห็นว‹า ธาตุใหม‹ๆ หากยิ่งหนัก อายุขัยก็ยิ่งสั้น เช‹น ธาตุ Hassium(108) มีชีวิตอยู‹นานประมาณ 1 วินาที และธาตุที่ 111 มีชีวิตอยู‹ไดŒ นาน 0.0015 วินาที เปšนตŒน
แต‹ขณะนี้คณะฟสิกสจาก 3 สถาบันอันไดŒแก‹ (1) Institute for Heavy lon Research ที่ Damstadt ในประเทศเยอรมนี(2) Lawrence Berkeley National Laboratory ในประเทศ สหรัฐอเมริกา และ (3) Joint Institute for Nuclear Research ที่ Dubna ในรัสเซียกําลังวางแผนจะ สังเคราะหธาตุที่ 114 แข‹งกัน คณะนักทดลองทีมใด สามารถสังเคราะหธาตุที่ 114 ไดŒเปšนคณะแรก ผูŒคนใน วงการฟสิกสคาดหวังว‹าคณะนักทดลองชุดนั้น จะไดŒรับรางวัลโนเบลสาขาฟสิกสในป‚นั้นทันที
และเมื่อวันที่ 27-28 ตุลาคมที่ผ‹านมานี้คณะนักวิทยาศาสตรจากสถาบันวิจัยทั้ง 3 ไดŒประชุมกันที่เมือง Houston ในรัฐ Texas เพื่อกํ าหนดการที่จะเดินเครื่องเร‹งอะตอมเพื่อสรŒางธาตุที่ 114 ในฤดูใบไมŒผลิที่จะถึงนี้
นักฟสิกสทฤษฎีนั้นเชื่อว‹าธาตุที่ 114 ซึ่งมีอนุภาคโปรตอน 114 ตัว และนิวตรอน 184 ตัวในนิวเคลียสจะ เปšนธาตุที่เสถียรมาก คือมีชีวิตอยู‹ไดŒนานเปšนป‚
แต‹ก็มีทฤษฎีบางทฤษฎีที่ทํานายว‹า หากใครสังเคราะหธาตุที่ 114 ไดŒมันจะปรากฏตัวใหŒดู อยู‹นานถึงลŒานป‚ นักจิตนาการบางคนคิดไกลไปถึงธาตุใหม‹นี้ อาจจะนํามาทําเปšนวัสดุชนิดใหม‹ หรืออาจจะ เปšนแหล‹งพลังงานรูปใหม‹ หรือ อาจ จะนํ ามาทําเปšนระเบิดมหาประลัยชนิดใหม‹ก็ไดŒ
แต‹ก‹อนจะบรรลุถึงธาตุที่ 114 คณะนักฟสิกสของเยอรมนี ก็ไดŒพยายามมานานพอสมควร แลŒวที่จะสรŒางธาตุที่ 113 โดยการยิงอะตอมของ bismuth ดŒวยอะตอมของสังกะสี ถŒาการสรŒาง ธาตุที่ 113 นี้ประสบความสํ าเร็จ เขาก็จะยิงอะตอมของตะกั่ว ดŒวยอะตอมของ germanium เพื่อสรŒาง ธาตุที่ 114 ต‹อไป ส‹วนนักวิทยาศาสตรของอเมริกาก็ไดŒวางแผนจะหลอมรวม plutonium-224 หรือ calcium-48 เพื่อสรŒางธาตุ 114 ที่มี นิวตรอน 174 ตัว คณะวิจัยของอเมริกาคาดหวังว‹าธาตุ 298 114 ที่เขาจะสรŒางขึ้นนี้มีเสถียรภาพสูงกว‹าธาตุที่ 114 ที่ เยอรมัน จะสรŒางมาก และหากประสบความสํ าเร็จทีมวิจัย ของสหรัฐฯ ก็เปลี่ยนเป‡า plutonium-224 เปšน curium-248 เพื่อสรŒางธาตุที่ 116 ซึ่งมีอนุภาค นิวตรอน 176 ตัว ในนิวตรอน 176 ตัว ใน นิวเคลียสต‹อไป
ไม‹ว‹าคณะนักวิจัยทีมใด จะประสบความสําเร็จก‹อนหรือหลังเพียงใด เรื่องนี้ก็ไม‹ไดŒเปšนเรื่องคอขาด บาดตายแต‹อย‹างใด ที่สำคัญคือ นักวิทยาศาสตรทุกคนกํ าลังตื่นเตŒน และกํ าลังรอคอยที่จะไดŒเห็นธาตุชนิดใหม่ อุบัติในโลก และนักวิทยาศาสตรทุกคนก็เชื่อว‹าความฝ˜นนั้นใกลŒจะเปšนความจริงแลŒวภายในที่ไม‹นานเกินรอ เพราะทันทีที่มีประกาศไดŒมีการพบธาตุที่ 114 แลŒวนักฟสิกสนิวเคลียรและนักเคมีนิวเคลียรหลายคน จะหันมา สนใจและศึกษาธาตุใหม‹นี้ นักฟสิกสก็จะศึกษาสมบัติทางกายภาพของธาตุใหม‹ เพื่อจะใหŒเขŒาใจว‹านิวเคลียส ของธาตุใหม‹มีสภาพเช‹นไร นักเคมีก็จะสนใจว‹าธาตุใหม‹มีปฏิกิริยาเคมีกับ ธาตุ “เก‹า” อย‹างไรบŒาง
และจากการที่นักทฤษฎีฟสิกส ไดŒทํานายไวŒว‹าธาตุที่ 126 จะมีเสถียรภาพสูงกว‹า ธาตุที่ 114 ขึ้น ไปอีก ดังนั้นธาตุ 126 ก็น‹าจะเปšนเป‡าหมายในการสังเคราะหธาตุใหม‹ต‹อไปในอนาคต แต‹หากจะมีการกล‹าวถึง ธาตุที่หนักกว‹าธาตุ 126 ละก็ ทฤษฎีฟสิกสที่เรามีในป˜จจุบันยังอยู‹สภาพที่ไม‹ดีพอที่จะใชŒทํานายอะไรๆ เกี่ยวกับสมบัติของธาตุที่หนักกว‹า 126 ไดŒเลย
ดังนั้น นักฟสิกสจึงมีงานสรŒางสรรคที่จะตŒองกระทําอีกมากครับ

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)