ลวดไฟฟาที่เราใชกันในทุกวันนี้ มีความตานทานไฟฟาทั้งสิ้น ดังนั้นเวลามีกระแสไฟฟาไหลผาน
เสนลวดๆ จะรอน เพราะพลังงานไฟฟาสวนหนึ่ง จะถูกเปลี่ยนไปเปนพลังงานความรอน การสูญเสียพลังงานทํ า
ใหกําลังไฟฟาตก
ในป พ.ศ.2454 K. Onnes ชาวเนเธอรแลนด ไดพบวาเสนลวด
ที่ทํ าจากปรอทบริสุทธิ์จะไมมีความ
ตานทานไฟฟาเลยที่อุณภูมิ -269 องศาเซลเซียส เขาเรียกปรากฏการณ ที่สสารสูญเสียความตานทานไฟฟ้า
อยางสมบูรณวา สภาพนํ ายิ่งยวด (superconductivity) และเรียกอุณหภูมิที่สารเปลี่ยนสภาพจากตัวนํ าไฟฟ้า
ธรรมดาไปเปนตัวนํายิ่งยวดวาอุณหภูมิวิกฤต
ตลอดเวลา 75 ปที่ผานมา ความคิดใดๆ ที่จะนํ าตัวนํ ายิ่งยวดมาใชในชีวิตประจํ าวันของเราไดเปน
เรื่องที่คนทั้งโลกคิดวาเปนเพียงความฝน เพราะการที่เราพบเห็นเหตุกา<รณประหลาดนี้ได เราตองทํ าให
อุณหภูมิของสารนั้นลดตํ่ ากวา -250 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิของอากาศที่ไซบีเรีย ในฤดูหนาวประมาณ -90
องศาเซลเซียสเทานั้นเอง)
แตแลวในป พ.ศ. 2529 K. Muller และ J. Bednordz สองนักฟสิกสแหงสถาบันวิจัย IBM ที่
Zurich ในประเทศสวิตเซอรแลนดไดพบวาสารประกอบของ barium, lanthanum, copper และ
oxygen (พวกเซรามิก กระเบื้องปูหองนํ้า) กลายสภาพเปน
ตัวนํ ายิ่งยวดไดที่อุณหภูมิ -243 องศาเซลเซียส
คนทั้งโลกไดรูสึกตื่นเตนกับผลการคนพบนี้ เพราะนั่นหมายความวา มนุษยชาติกํ าลังจะกาวเขา
สูยุคสมัยของความเปนไฮเทค ในเวลาอีกไมชาเราจะมีรถไฟเหาะที่มีความเร็วถึง 500 กิโลเมตร/ชั่วโมง เราจะใช
อุปกรณเรดารที่สามารถตรวจหาแหลงนํ้ามัน เรือดํ านํ้ า และเครื่องบิน รวมทั้งอุปกรณอิเล็กทรอนิกสตางๆ ทุก
ชนิดในคอมพิวเตอรก็จะไดรับการพัฒนาจนมีประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้นมาก โสหุยคาสงกระแสไฟฟาจากโรงไฟฟา
สูผูบริโภคก็จะสามารถลดไดตั้งแต 10-15% โรงไฟฟาที่นราธิวาสจะสามารถสงกระแสไฟฟาถึงเชียงใหมหรือ
อุบลราชธานีไดโดยกระแสไมตกแมแตนิดเดียว ฯลฯ
8 ปหลังการคนพบของ Muller และ Bednordz นักวิทยาศาสตรอื่นๆ ไดพบตัวนํ ายิ่งยวดเพิ่ม
อีกหลายพันชนิด สารประกอบเหลานี้มีอุณหภูมิวิกฤตสูงขึ้นๆ
สถิติ