หนึ่งศตวรรษของการพบกัมมันตรังสี
ทุกครั้งที่มีการพูดถึงกัมมันตรังสี คนส‹วนมากจะนึกถึงระเบิดปรมาณู หรือ โรงงานไฟฟ‡านิวเคลียร และมักจะคิดว‹าเมื่อประเทศเรายังไม‹ถูกโจมตีดŒวยระเบิด ปรมาณู และเรายังไม‹มีโรงงานไฟฟ‡านิวเคลียร ภัยอันตรายจากกัมมันตรังสีก็ไม‹มี
แต‹ในโลกของความเปšนจริงนั้น ร‹างกายไดŒรับกัมมันตรังสีตลอดเวลา นักวิทยาศาสตรคาดคะเนว‹า 87 เปอรเซ็นตของรังสีที่ร‹างกายไดŒรับมาจากกัมมันตรังสี ที่มีในธรรมชาติ และอีก 13 เปอรเซ็นตที่เหลือมาจากสารกัมมันตรังสีที่มนุษยประดิษฐขึ้น

เมื่อโลกถือกําเนิดใหม‹ๆ จากแกสที่กลั่นตัวเปšนหินแข็ง โลกยังไม‹มีบรรยากาศ และไม‹มีมหาสมุทร ภูเขาหรือทวีปใดๆ ผิวโลกเปšนหินแข็ง และภายในหินมีสารกัมมันตรังสี เช‹น ยูเรเนียมและทอเรียมแฝงอยู‹ ธาตุเหล‹านี้สลายตัวโดยมีครึ่งชีวิต 14,000 ลŒานป‚และ 4,000 ลŒานป‚ตามลํ าดับ (ครึ่งชีวิต คือเวลาที่สารกัมมันตรังสีใชŒในการสลายตัว ไปครึ่งหนึ่ง) ตามปกติในการสลายตัวนั้น จะมีความรŒอนเกิดขึ้นดŒวย ดังนั้นเมื่อหลายพันลŒานป‚ก‹อนนี้ พลังงานความรŒอนจากการสลายตัว ของสารกัมมันตรังสีมีปริมาณมาก และเมื่อ เวลาผ‹านไปๆ พลังงานความรŒอนที่ถูกปล†อยออกมาไดŒลดลงๆ จนถึงป˜จจุบันปริมาณความรŒอนที่เกิด จากการสลายตัวของสาร กัมมันตรังสีภายในโลกมีค‹า 3 x 10 13 วัตต ซึ่งมากกว‹าปริมาณ กระแสไฟฟ‡าที่โลกผลิตในแต‹ละป‚ถึง 80 เท‹า สิ่งมีชีวิตต‹างๆ บนโลกไดŒใชŒพลังงาน ความรŒอนนี้ในการดํารงชีพ จึงเปšนเรื่องที่ไม‹ผิด หากมีใครจะกล‹าวว‹า ถŒาโลกไม‹มี กัมมันตรังสี โลกก็จะไรŒซึ่งชีวิต
นอกจากกัมมันตรังสีจากใตŒโลกแลŒว เรายังไดŒรับกัมมันตรังสีจากแหล‹งต‹างๆ บนโลกอีกดŒวย เช‹น จากจอโทรทัศน จากนาฬิกาเรืองแสง จากการทดลองระเบิดปรมาณู จาก การตรวจร‹างกายดŒวยเอกซเรย หรือจากรังสีคอสมิก

นักวิทยาศาสตรไดŒพิสูจนใหŒเห็นแลŒวว‹า กัมมันตรังสีเกิดจากการที่นิวเคลียสใน อะตอมของธาตุอีกชนิดหนึ่งเปลี่ยนสภาพไปเปšนนิวเคลียสของธาตุอีกชนิดหนึ่ง เช‹น จากยูเรเนียม ไปเปšนตะกั่วทั้งนี้ก็เพื่อว‹านิวเคลียสจะไดŒมีเสถียรภาพยิ่งขึ้น และเราไดŒใชŒกัมมันตรังสีเหล‹านี้ ใหŒเปšนประโยชนทั้งในดŒานการแพทย การเกษตร การอุตสาหกรรม และเทคโนโลยีมานาน ร‹วมหนึ่งศตวรรษแลŒว
นักฟสิกสชาวฝรั่งเศสชื่อ A.H. Becquerel เปšนบุคคลแรกของโลกที่ไดŒพบ กัมมันตรังสีเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ พ.ศ. 2439 โดยเขาไดŒพบว‹าถึงแมŒสารประกอบชื่อ potassium uranium sulfate จะถูกกระดาษสีดํ าห‹อหุŒมอย‹างมิดชิด มันก็ยังสามารถ ทํ าใหŒฟลมถ‹ายรูปเปšนฝ‡าไดŒเมื่อแผ‹นฟลมนั้นถูกนําไปล‡าง
Becquerel เกิดที่กรุงปารีส เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2395 ในครอบครัว นักฟสิกสเพราะปู†และพ‹อเปšนนักฟสิกสที่มีชื่อเสียงของฝรั่งเศส เขาไดŒรับ ปริญญาดุษฎีบัณฑิตทางวิทยาศาสตรเมื่อมีอายุเพียง 26 ป‚
การคŒนพบเอกซเรยในป‚ พ.ศ. 2438 ไดŒ ทํ าใหŒคนทั้งโลกตื่นตัวมาก Becquerel เองไดŒตั้งสมมติฐานว‹า ปรากฏการณการเรืองแสงของสารบางชนิด และเอกซเรยมีสาเหตุการ เหมือนเกิด ถึงแมŒเขาจะใชŒกระดาษสีดํ าหุŒมสารประกอบต‹างๆ ของยูเรเนียม แลŒวนํ าไปวาง บนฟลมถ‹ายรูปในหŒองที่มืดสนิทก็ตาม เขาก็ยังเห็นปรากฏการณกัมมันตรังสีอยู‹ดี
ในการรายงานผลการสังเกตของเขา ในที่ประชุม Academy of Sciences เขาไดŒสรุปว่า ยูเรเนียมสามารถแผ‹รังสีไดŒ ผูŒคนพากันเรียกรังสีที่เขาพบว‹ารังสี Becquerel บŒาง รังสียูเรเนียม บŒางในระยะแรก Becquerel ก็คิดว‹ารังสีที่เขาพบนี้มีคุณสมบัติ เช‹นเดียวกับรังสีเอ็กซ แต‹ Pierre และ Marie Curie ไดŒทดลองใหŒโลกเห็นธรรมชาติที่แทŒจริงของรังสีปริศนานี้ ผลงานของ Becquerel , Pierre และ Marie Curie ไดŒ ทํ าใหŒบุคคลทั้งสามรับรางวัลโนเบลสาขาฟสิกสประจําป‚ พ.ศ.2446 ร‹วมกัน
ป˜จจุบันนี้บทบาทของกัมมันตรังสี ในการใชŒเปšนอาวุธสงครามไดŒลดลงไปมาก เพราะ ประเทศต‹างๆ ใชŒนโยบายปลอดนิวเคลียร ความกระตือรือรŒนในการสรŒางโรงงานไฟฟ‡าปรมาณู ก็ลดเช‹นกัน เพราะทุกคนกลัวอุบัติเหตุ Chernobyl 2
ป‚นี้เปšนป‚ครบรอบหนึ่งศตวรรษ แห‹งการคŒนพบกัมมันตรังสี เปšนป‚ที่เปดโอกาส ใหŒเราระลึกถึงบุคคลที่พบ รวมทั้งประโยชนและโทษของการคŒนพบดŒวยครับ

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)